Page 192 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 192

187

                                2.2..4.  พัฒนาหมอดินอาสา ยุวเกษตรกร เกษตรกร และกลุมเกษตรกร ใหมีความรูความเขาใจการ

                  พัฒนาที่ดิน เพื่อเปนรากฐานการดําเนินชีวิตอยางพอเพียง
                                2.2.5. ปฏิบัติราชการตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551



                   2.3. อํานาจหนาที่

                           2.3.1. ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยการพัฒนาที่ดินและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ
                           2.3.2.  ศึกษา สํารวจ วิเคราะห และจําแนกดินเพื่อกําหนดนโยบาย และวางแผนการใชที่ดิน การ

                  กําหนดบริเวณการใชที่ดิน การควบคุมการใชที่ดิน บริเวณที่มีการใชหรือทําใหเกิดการปนเปอนของสารเคมี

                  หรือวัตถุอื่นใด การกําหนดเขตการอนุรักษดินและน้ํา รวมทั้งติดตามสถานการณสภาพการใชที่ดิน
                           2.3.3.  ศึกษา วิจัยและพัฒนาการปรับปรุงบํารุงดิน การอนุรักษดินและน้ํา การพัฒนาโครงสราง

                  พื้นฐาน เพื่อการเกษตรในไรนา ตลอดจนการปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่และการใชประโยชนที่ดินเพื่อสราง

                  มูลคาเพิ่มและลดตนทุนการผลิตทางการเกษตร

                                2.3.4.  ใหบริการวิเคราะหและตรวจสอบดิน น้ํา พืช ปุย พรอมใหคําแนะนําเพื่อการปรับปรุงบํารุง
                  ดิน การอนุรักษดินและน้ํา และอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาที่ดิน

                                2.3.5. ศึกษา วิเคราะห และผลิตแผนที่ภาพถาย จัดทําสํามะโนที่ดิน และพัฒนาระบบแผนที่ฐาน เพื่อ

                  ใชเปนขอมูลในการวางแผน  การพัฒนาการผลิต การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางการเกษตรและอื่นๆ
                                2.3.6.  ถายทอดผลการศึกษา คนควา วิจัย และใหบริการดานการพัฒนาที่ดิน รวมทั้งสรางเครือขาย

                  หมอดินอาสา และกลุมเกษตรกร ใหเขมแข็ง เพื่อรองรับการถายทอดเทคโนโลยี และการมีสวนรวมในการ

                  พัฒนาที่ดินและในดานอื่นๆ


                  3. พระราชบัญญัติการพัฒนาที่ดิน

                            กรมพัฒนาที่ดิน เปนหนวยงานหลักในการผลักดันเพื่อใหประเทศไทยมีกฎหมายเกี่ยวกับการ

                  พัฒนาที่ดินขึ้นมาตั้งแต ป พ.ศ. 2526 และไดใชปฏิบัติตอเนื่องมาจนกระทั่งป พ.ศ. 2551 พบวาปญหาความ
                  เสื่อมโทรมของทรัพยากรที่ดินของประเทศไทย ก็ยังเปนปญหาที่เกิดขึ้นอยางรุนแรงและกวางขวาง โดยไม

                  ลดลง จึงมีแนวคิดวากฎหมายที่มีอยูไมมีบทลงโทษสําหรับผูฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม ดังนั้น ถามีกฎหมาย

                  เกี่ยวกับการพัฒนาที่ดินขึ้นมาใหม ที่สามารถนําไปสูการใชกฎหมายไดอยางชัดเจนเปนรูปธรรม จะทําให

                  สถานการณดีขึ้น จึงดําเนินการผลักดันใหมีกฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาที่ดินขึ้นมาใหม เรียกวา
                  พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดินพ.ศ. 2551

                           เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.

                  2526 ไดใชบังคับมาเปนเวลานานแลว มีบทบัญญัติบางประการไมเหมาะสมกับสภาวการณในปจจุบัน และ
                  โดยที่ปจจุบันมีปญหาความเสื่อมโทรมของดินเพราะไมมีการอนุรักษดินและน้ํา ทําใหเกิดการชะลาง

                  พังทลายของดินกอใหเกิดความเสียหายตอเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งไมมีบทบัญญัติใหหนวยงานของรัฐ
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197