Page 186 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 186

181

                                15. แนวทางและความคิดเห็นการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน



                  15.1. แนวทางการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน

                           การบริหารและจัดการโครงการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน เพื่อใหบรรลุ
                  วัตถุประสงค สัมฤทธิ์ผล มีประสิทธิภาพ ไดประโยชนและมีความยั่งยืน ตองคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้

                            15.1.1. การใชประโยชนที่ดินตามเขตเหมาะสมสําหรับพืชเศรษฐกิจ  ที่กําหนดไวในแผนการใช

                  ที่ดินของจังหวัด การกําหนดเขตเหมาะสมสําหรับพืชเศรษฐกิจเหลานี้ ถาไดนําพื้นที่ดังกลาวไปใชดําเนินงาน

                  โครงการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน จะเกิดประโยชนอยางเต็มที่แกนักวางแผน
                  นักวิชาการเกษตร นักสงเสริม ตลอดจนตัวเกษตรกรเอง ทั้งนี้เพราะ

                                 (1)  งายตอการควบคุมดูแล การกําจัดโรคแมลง การขยายพันธุ การชลประทาน ตลอดจนการ

                  สงเสริมหรือการใหคําแนะนําของเจาหนาที่ตางๆ เพราะในโซนเดียวกันจะมีความตองการของปจจัยในการ
                  ผลิตคลายคลึงกัน

                          (2)  ชวยในการคาดคะเนปริมาณผลผลิตของจังหวัด และสะดวกในการติดตามผลวาบรรลุถึง

                  เปาหมายที่ทางจังหวัดตองการหรือไม

                          (3)  ชวยในการพิจารณาเลือกชนิดของพืชที่ปลูกตามความตองการของตลาดโดยใหเหมาะสมกับ
                  ศักยภาพของที่ดิน

                           15.1.2. การเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ใหไดผลอยางจริงจังนั้น ตองพิจารณาใหเหมาะสมกับสภาพ

                  ที่เปนอยูปจจุบัน เชน หาวิธีการปรับปรุงบํารุงดินที่เหมาะสม มีการเลือกใชพันธุพืชที่ดี มีการกําหนดเวลา
                  การปลูกพืชที่สอดคลองกับสภาพอากาศ พื้นที่ที่มีการชลประทานควรมีการพัฒนาระบบชลประทานใหมี

                  ประสิทธิภาพตลอดจนมีหลักในการปองกันโรคและแมลงที่ดี

                           15.1.3. การจัดระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม ซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง เชน สภาพของดิน
                  ปริมาณน้ําฝน หรือลักษณะของแหลงน้ํา ตลอดจนอายุและลักษณะของพืชที่จะปลูกระบบการปลูกพืชไม

                  จําเปนตองเปนระบบเดียวกันทั้งจังหวัด การจะใชระบบการปลูกพืชแบบไหนขึ้นอยูกับความเหมาะสม ซึ่ง

                  สามารถเปลี่ยนแปลงไดตามความตองการ แตควรยึดหลักเกณฑวาจะพยายามปลอยใหดินอยูในสภาพวาง

                  เปลาระยะเวลาที่นอยที่สุด หรืออีกนัยหนึ่งพยายามปลูกพืชหลายๆ ชนิด ในรอบปนั่นเอง
                           15.1,4. การกําหนดแผนและเปาหมายการผลิตพืชไวลวงหนา เพื่อจะไดเตรียมการอยางถูกตองและ

                  เหมาะสม การกําหนดเปาหมายวาจะปลูกพืชอะไรอะไร ตองการที่จะใหไดผลผลิตเทาใด ควรพิจารณามาจาก

                  ลักษณะทางสังคมของเกษตรกร ตลอดจนความเอื้ออํานวยของปจจัยในการผลิตตางๆ อีกดวย

                           15.1.5. บริเวณที่มีศักยภาพทางการเกษตรสูง และมีปจจัยในการผลิตพรอม เชน บริเวณพื้นที่เขต
                  โครงการชลประทาน หรือในพื้นที่ดินที่ดี ควรจะไดมีการวางแผนและจัดระบบอนุรักษดินและน้ําเพื่อการ

                  พัฒนาที่ดินใหไดประโยชนจากพื้นที่อยางสมบูรณ สําหรับในบริเวณพื้นที่ที่อาศัยน้ําฝน ก็ควรใหมีการบูรณา
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191