Page 188 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 188

183

                  เขต/สถานีพัฒนาที่ดิน  ศูนย/ตลาดนัดหมอดิน เพื่อจําหนายผลผลิตของเขตพัฒนาที่ดิน (LDD  outlet

                  products)
                          15.2.5.  การจัดตั้งโครงการ/ศูนยผลิตปจจัยการพัฒนาที่ดินในเขตพัฒนาที่ดิน โดยใหเกษตรกรมี

                  สวนรวม เชน ผลิตกลาหญาแฝก ขยายพันธุและผลิตเมล็ดพันธุพืชอนุรักษดิน พืชคลุมดิน พืชปุยสด พืชบํารุง

                  ดิน การทําปุยหมัก ปุยอินทรีย เปนตน โดยกรมพัฒนาที่ดินรับซื้อ จัดตั้งเปนธนาคารเมล็ดพันธุ ธนาคารปุย

                  อินทรีย เปนตน  เพื่อการแจกจาย และขยายผลการดําเนินงานเขตพัฒนาที่ดิน
                          15.2.6. การยกระดับเขตพัฒนาที่ดิน เปนเขตเศรษฐกิจพิเศษระดับชาติ/นานาชาติ กําหนดเขตปลูก

                  พืชหรือชุมชนอนุรักษดินและน้ํา เปนตน โดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551

                  ประกาศเปนเขตอนุรักษดินและน้ํา เพี่อคุมครองพื้นที่ใชในการเกษตรอยางยั่งยืน ปองกันการซื้อขายที่ดิน

                  และเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนพื้นที่   เปนพื้นที่ตัวอยางและตนแบบการบริหารจัดการเขตพัฒนาที่ดิน
                  อยางสมบูรณ เปนพื้นที่ศึกษา ดูงานการพัฒนาที่ดินของกรมพัฒนาที่ดินในระดับชาติและนานาชาติ เพื่อ

                  รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน


                  15.3. อันตราย จุดวิกฤติ และจุดที่ตองควบคุมในการดําเนินงานเขตพัฒนาที่ดิน

                            จากประสบการณที่ไดปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนาการอนุรักษดินและน้ํา ของกรมพัฒนาที่ดิน มา

                  ตั้งแตเริ่มรับราชการ จนถึงปจจุบันนี้ รวมเวลามากกวา 35 ป  เพื่อเปรียบเทียบใหเห็นความชัดเจนในหลักการ
                  ดําเนินงานจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน ใครขอนําวิธี Hazard Analysis Critical Control

                  Point เรียกยอวา HACCP มาเปนเครื่องมือการวิเคราะหอันตราย จุดวิกฤติ และจุดที่ตองควบคุม ในการจัดทํา

                  ระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน ซึ่งสามารถสรุปประเด็นปญหาได ดังนี้คือ

                           15.3.1.  จุดควบคุมวิกฤติ ( Critical Control Point )  กระบวนการจัดทํารายงานแผนแมบทเขต
                  พัฒนาที่ดินแตละแหง  เปนสิ่งสําคัญที่สุดในการดําเนินการจัดทําเขตพัฒนาที่ดิน  และถือวาเปนจุดวิกฤติของ

                  กระบวนการดําเนินงานจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน   ตองมีการพิจารณา  ควบคุมอยาง

                  เครงครัด  และจะละเลยไมได  ตองเขมงวดใหถูกตองครบถวนทุกประเด็นตามขอกําหนดและขั้นตอนการ

                  จัดทําเขตพัฒนาที่ดิน ของกรมพัฒนาที่ดิน สรุปประเด็นไดดังนี้
                           (1) การกําหนดเขตวงรอบ พิกัด พื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ตองระบุชื่อลุมน้ําหลัก ลุมน้ําสาขายอย  และ

                  การขึ้นทะเบียนเปนเขตพัฒนาที่ดินใหเรียบรอยและถูกตอง

                           (2) การสํารวจสภาพปญหาของพื้นที่ ทั้งสถานภาพทรัพยากรดิน น้ํา พืช ปาไม สิ่งแวดลอม สภาวะ
                  เศรษฐกิจและสังคม แหลงน้ํา ปริมาณฝนตก ประเมินน้ําไหลบา และการสูญเสียดินอันเนื่องมาจากการชะ

                  ลางพังทลายของดิน   ความตองการของประชาชน ตลอดจนหนวยงานที่เกี่ยวของในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินนั้น

                  และอื่นๆ เปนตน
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193