Page 194 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 194

189

                   ประชาชนทั่วไป ไดเห็นประโยชนของการพัฒนาที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ซึ่ง

                   ปจจุบันมีอยู 547 เขตพัฒนาที่ดิน
                           5.1.  พื้นที่ดําเนินการ หมายถึงพื้นที่ที่เปนตัวแทนของปญหาการใชประโยชนที่ดินในเขตพัฒนา

                  ที่ดิน ที่จําเปนตองมีการพัฒนา ฟนฟู ปรับปรุง และแกไข โดยการบูรณาการกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการ

                  พัฒนาที่ดิน

                           เขตพัฒนาที่ดิน จะมีการวางแผนและกําหนดพื้นที่ดําเนินการไวหลายจุด เพื่อพัฒนา ปรับปรุงและ
                  แกไขปญหาการใชประโยชนที่ดิน  เปนพื้นที่ดําเนินการและปฏิบัติการพัฒนาที่ดินดวยการบูรณาการ

                  เทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตลอดจนเปนศูนย/จุดเรียนรู แปลงสาธิตและทดสอบ ดานการบริหารและจัดการ

                  ทรัพยากรดินและน้ํา ขนาดใหญ ในลักษณะการบริหารจัดการลุมน้ําอยางเปนระบบ ตั้งแตตนน้ํา กลางน้ํา
                  และปลายน้ํา กลาวคือ ในพื้นที่ตนน้ําตองสงวนรักษาไวเปนพื้นที่ปาไม สําหรับเปนแหลงน้ําตนทุน สวน

                  พื้นที่กลางน้ําและปลายน้ํา ใหนําระบบอนุรักษดินและน้ํา ซึ่งมีทั้งมาตรการวิธีกลและวิธีพืชเขาไปชวย

                  ปองกันการชะลางพังทลายของดิน น้ําไหลบาก็ควรวางแผนพัฒนาพื้นที่เพื่อเก็บกักน้ําไวใชประโยชน

                  ตลอดจนออกแบบระบบอนุรักษดินและน้ํา เพื่อควบคุมน้ําและระบายน้ํา สวนพื้นที่การเกษตรที่มีปญหาดิน
                  นั้น ใหนําวิธีการจัดการ และเทคโนโลยีของกรมพัฒนาที่ดิน เขาไปพัฒนา ฟนฟู ปรับปรุงดินใหมีความอุดม

                  สมบูรณ พรอมกันนี้ใหสงเสริมการทําเกษตรอยางถูกวิธีและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ซึ่งจะชวยใหเกิดการใช

                  ประโยชนทรัพยากรดินและน้ําเพื่อการเกษตรไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดและมีความยั่งยืนตลอดไป


                  6. หลักการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําในเขตพัฒนาที่ดิน

                           กรมพัฒนาที่ดิน มีนโยบายใหถายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินดานตางๆ ลงในพื้นที่เขตพัฒนา
                  ที่ดิน  โดยพิจารณาจากพื้นที่เกษตรกรรมที่มีปญหาการใชประโยชนที่ดินตามลุมน้ําภูมิภาคตางๆ ดวยการ

                  สํารวจและจัดทําฐานขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม สภาวะเศรษฐกิจและสังคม เพื่อใชในการ

                  วิเคราะหและวางแผนการใชประโยชนที่ดิน กําหนดมาตรการอนุรักษดินและน้ํา มาตรการฟนฟู แกไขและ

                  การปรับปรุงบํารุงดิน โดยมุงหวังใหเจาหนาที่ของกรมพัฒนาที่ดิน ผูที่เกี่ยวของ ตลอดจนเกษตรกร
                  นําไปใชปฏิบัติไดอยางถูกตอง และเหมาะสม ซึ่งจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดในการใชประโยชนที่ดินและ

                  มีความยั่งยืนตลอดไป

                          การวางระบบการพัฒนาที่ดิน เปนรูปแบบของการจัดการทรัพยากรที่ดินโดยการบูรณาการงานและ
                  กิจกรรม ของระบบตางๆ ของการพัฒนาที่ดิน ทั้งทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนสภาวะ

                  เศรษฐกิจและสังคม  เพื่อการใชประโยชนที่ดินอยางยั่งยืน โดยมีเปาหมายใหเกษตรกรมีความเปนอยูที่ดี มี

                  รายไดจากผลผลิตทางการเกษตร  และในขณะเดียวกันไมสงผลกระทบตอสภาพแวดลอม ซึ่งมีความเกี่ยวพัน

                  กัน  เชน ดิน ภูมิอากาศ อุทกวิทยา ภูมิประเทศ พืชพรรณ รวมทั้งมนุษย และสัตวตางๆ ซึ่งอาศัยอยูบนพื้นดิน
                  นั้นดวย
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199