Page 187 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 187

182

                  การของหนวยงานตางๆ ซึ่งควรจะมีมาตรการการประกันหรือจํานําราคาผลผลิตทางเกษตร เพื่อใหเกษตรกร

                  สามารถอยูในสังคมไดทัดเทียมกันกับอาชีพอื่นๆ
                           15.1.6. ควรปรับปรุงและใหความสําคัญกับสถาบันที่เกี่ยวของกับเกษตรกรใหมีประสิทธิภาพสูง

                  ยิ่งขึ้น เชน กลุมเกษตรกร สหกรณการเกษตร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร องคการตลาด

                  เพื่อเกษตรกรรม รัฐควรสนับสนุนและสงเสริมใหสถาบันเกษตรกรตางๆ เหลานี้สามารถขยายธุรกิจได

                  กวางขวางมากขึ้น
                         15.1.7. ปรับปรุงและแกไขกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชที่ดินใหเหมาะสม โดยเฉพาะอยางยิ่ง

                  กฎหมายที่เกี่ยวกับการพัฒนาที่ดิน โดยที่ดินอยูในความดูแลของทหารหรือที่ดินที่หมดสภาพเปนปาสงวน

                  แลว แตมีศักยภาพพอที่จะใชปลูกพืชเศรษฐกิจได และมีราษฎรอาศัยอยูมาก เชน บริเวณ 2 ฝงแมน้ํา ควรเพิก

                  ถอนแลวจัดใหราษฎรมีเอกสิทธิ์ในการทํากินใหถูกตองตามกฎหมาย แตในบริเวณใดที่มีดินเลว ยากในการ
                  ปรับปรุงแกไข ควรนํามาพิจารณาเพื่อใชในกิจการอื่นๆ เชน ทางดานปศุสัตวหรือพัฒนาใหเปนปาโดยการ

                  ปลูกพืชทดแทน นอกจากนี้ ควรเนนการตรากฎหมายเกี่ยวกับการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะ

                  ทางดานอนุรักษดินและน้ํา เพื่อรักษาระบบนิเวศวิทยาของลุมน้ําหลักของประเทศไทย ตลอดตนน้ํา กลางน้ํา
                  และปลายน้ํา และใหเกษตรกรสามารถใชประโยชนที่ดินไดอยางยั่งยืนอีกดวย



                  15.2. ขอเสนอและความคิดเห็น
                            เขตพัฒนาที่ดิน ที่ดําเนินการจัดทําแผนแมบทเรียบรอยแลว และไดดําเนินการหรืออยูระหวาง

                  จัดทําระบบอนุรักษและน้ํา ตามแผนงาน เพื่อใหเขตพัฒนาที่ดินมีการพัฒนาอยางเปนรูปธรรม ทันเหตุการณ

                  และสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงคการจัดทําเขตพัฒนาที่ดิน  ผูเขียนใครขอเสนอความคิดเห็น และแนวทาง

                  การบริหารและจัดการเขตพัฒนาที่ดินอยางยั่งยืน  ดังนี้
                             15.2.1.  จัดทําแผนแมบทการดําเนินงานเขตพัฒนาที่ดินใหชัดเจน และปรับปรุงใหเหมาะสมตาม

                  สถานการณอยูเสมอ

                            15.2.2. จัดทําศูนยปฏิบัติการเขตพัฒนาที่ดิน โดยจัดทําแบบจําลองเขตพัฒนาที่ดินประจําสถานี

                  พัฒนาที่ดิน จัดทําขอมูลสารสนเทศของเขตพัฒนาที่ดิน/แผนที่เขตพัฒนาที่ดิน  กําหนดระบุกิจกรรมตางๆ
                  เปาหมาย ลงในแผนที่เขตพัฒนาที่ดิน สามารถติดตามงาน หรือแสดงกิจกรรมดําเนินการของเขตพัฒนาที่ดิน

                  ไดเสมอ

                           15.2.3. ตองประเมินผลกระทบโครงสรางระบบอนุรักษดินและน้ํา  เชน การชะลางพังทลายของ
                  ดิน ความชื้นของดิน และความอุดมสมบูรณของดิน

                           15.2.4.  การขับเคลื่อนเขตพัฒนาที่ดินอยางตอเนื่อง ในลักษณะและรูปแบบตางๆ ตามความ

                  เหมาะสมของพื้นที่ เชน  ฟารมตัวอยาง เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย กําหนดเขตปลูกพืช  ศูนยวิจัยและ
                  พัฒนาการอนุรักษดินและน้ํา เขตอนุรักษดินและน้ําดีเดน/เขตพัฒนาที่ดินดีเดน  ของสํานักงานพัฒนาที่ดิน
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192