Page 158 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 158

153

                  ความลึก 50  เซนติเมตรจากผิวดิน ชั้นดินเหลานี้จะเปนอุปสรรคขัดขวางตอการชอนไชของรากพืชลงไปหา

                  อาหารและน้ํา ทําใหพืชที่ปลูกชะงักการเจริญเติบโตและการใหผลผลิตผิดปกติ
                          ดินตื้นหรือความหนาของชั้นดินบนนอยกวา 50     เซนติเมตรจากผิวดิน จนทําใหพืชที่ปลูก

                  เจริญเติบโตผิดปกติ มีเนื้อที่ 46,090,109 ไร (ตารางที่ 20) แบงตามชนิดของวัสดุที่จํากัดการชอนไชของราก

                  พืช เจริญเติบโตและการใชผลผลิต แบงออกได 4 กลุม ดังนี้
                            (1)   กลุมดินตื้นในพื้นที่ลุมหรือพื้นที่น้ําขัง มีเนื้อที่ 8,881,718 ไร ไดแก กลุมชุดดินที่ 25

                             (2) กลุมดินตื้นถึงชั้นลูกรัง  กอนกรวดหรือเศษหินในพื้นที่ดอนเขตดินชื้นและเขตดินแหงมีเนื้อ

                  ที่ 26,133,752 ไร ไดแก กลุมชุดดินที่ 45, 46, 48 และ 49

                             (3) กลุมดินตื้นถึงชั้นหินพื้นในพื้นที่ดอนเขตดินแหงและเขตดินชื้น มีเนื้อที่ 9,108,551 ไรไดแก
                  กลุมชุดดินที่ 47 และ 51

                             (4) กลุมดินตื้นถึงชั้นมารลในพื้นที่ดอน มีเนื้อที่ 2,096,678 ไร ไดแก กลุมชุดดินที่ 52

                            12.6.1. ปญหาของดินตื้น

                            ดินตื้นเปนอุปสรรคในการชอนไชของรากพืชและการไถพรวน มีปริมาณเนื้อดินเหนียวนอย ทําให
                  ดินมีความสามารถในการดูดซับน้ําและธาตุอาหารต่ํา  การเกาะยึดตัวของเม็ดดินไมดี  เกิดการชะลางพังทลาย

                  ของดินไดงาย ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา พืชเจริญเติบโตไมดีและใหผลผลิตต่ํา

                             12.6.2. แนวทางการปรับปรุงแกไขดินตื้น
                             (1) เลือกพื้นที่มีหนาดินหนา 15 เซนติเมตรหรือมากกวา มาใชปลูกพืช

                             (2) เลือกพืชปลูกที่เหมาะสม ไดแก พืชที่มีระบบรากตื้นและพืชทนแลง เชน ปลูกหญาเลี้ยงสัตว

                  หญารูซี่ผสมถั่วเวอราโนสไตโล ไมใชสอยโตเร็ว และปลูกพืชหลากหลายชนิดผสมผสาน

                             (3)  การเตรียมดินปลูกไมผลและไมยืนตน ปรับปรุงดินดวยการไถกลบพืชปุยสด หรือขุดหลุม
                  ปลูกใหมีขนาดใหญ 50-75x50-75x50-75 เซนติเมตร หรือถึงชั้นหินพื้นแข็ง ตามขนาดของทรงพุมพืชที่นํามา

                  ปลูก ปรับปรุงหลุมปลูกดวยหนาดินที่ไมมีกอนกรวดหรือลูกรัง รวมกับการใสปุยหมักหรือปุยคอกและใช

                  ปุยเคมีตามความตองการของชนิดพืชที่ปลูก เชน ยูคาลิปตัส กระถินตางๆ นุน สะเดา ขี้เหล็กบาน มะมวงหิม

                  พานต มะมวง มะขาม นอยหนา มะขามเทศ พุทรา ไผ
                             (4) เพิ่มความอุดมสมบูรณของดิน ดวยการไถกลบพืชปุยสดรวมกับการบํารุงดินดวยปุยอินทรีย

                  ปุยหมัก ปุยคอก และปุยเคมีชนิดและอัตราที่เหมาะสมสําหรับพืชแตละชนิด เปนตน

                             (5)  การคลุมดินเพื่อรักษาความชื้นในดิน หลังปลูกพืชใชวัสดุ เศษพืช หรือปลูกพืชตระกูลถั่ว
                  คลุมดินชวยเพิ่มอินทรียวัตถุและรักษาความชื้นดิน

                             (6)  จัดระบบการใหน้ําอยางมีประสิทธิภาพ พัฒนาแหลงน้ําและจัดระบบการใหน้ํา เชน ใหน้ํา

                  แบบหยด

                             12.6.3. การจัดการดินตื้น

                             (1) การจัดการดินตื้นในพื้นที่ลุม เพื่อปลูกขาว
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163