Page 156 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 156

151

                  ความเร็วและการกระจายการไหลของน้ําที่ไหลบาบนผิวดิน ทําใหน้ําซึมลงไปในดินมากขึ้น เพิ่มอินทรียวัตถุ

                  ใหกับดิน ถาเปนพืชตระกูลถั่วจะสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศมาใชประโยชนเพิ่มเติมใหแกดิน  ชวย
                  รักษาความชุมชื้นและดูดซับธาตุอาหารในดิน

                                - การใชวัสดุคลุมดิน โดยใชวัสดุอยางใดอยางหนึ่งปกคลุมผิวหนาดิน เพื่อการอนุรักษดินและน้ํา

                  และเพิ่มอินทรียวัตถุใหกับดิน  สวนใหญมักเปนวัสดุธรรมชาติ  ไดแก เศษซากพืชหรือวัสดุเหลือใชใน
                  การเกษตร เชน ฟางขาว ตอซังพืช แกลบ ขี้เถาแกลบ ขี้เลื่อย ตลอดจนใบไม ใบหญาแฝกและหญาแหง นํามา

                  คลุมโคนตนและระหวางแถวพืชที่ปลูก นอกจากนี้เมื่อเศษซากพืชคลุมดินสลายตัวจะไดอินทรียวัตถุสําหรับ

                  ปรับปรุงบํารุงดินและใหธาตุอาหารกับพืช

                                  - การเพิ่มอินทรียวัตถุใหกับดิน ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก เศษพืช หรือไถกลบพืชปุยสด เพื่อให
                  อินทรียวัตถุเปนตัวดูดน้ําและธาตุอาหาร นอกจากนี้ยังชวยในการเกาะยึดของดินดีขึ้น

                                  - การจัดการน้ําที่เหมาะสม พัฒนาแหลงน้ําและใหน้ําทีละนอย แตบอยครั้ง เชน การใหน้ําแบบ

                  หยด เปนตน

                                  - เลือกชนิดพืชปลูกที่เหมาะสม ปลูกพืชทนแลงที่มีระบบรากลึก เพื่อใหพืชสามารถใชน้ําใตดิน
                  ได เชน ยูคาลิปตัส หรือปลูกพืชที่ใชน้ํานอยและมีอายุสั้น เชน ถั่วเขียว ขาวโพดฝกออน ขาวโพดหวาน เปน

                  ตน และการปลูกพืชแบบหมุนเวียนไรนาสวนผสม

                                 -  การใชปุยเคมี ควรมีการใชปุยเคมีใหเหมาะสมกับชนิดพืชที่ปลูก เชน ใชปุยเคมีที่ละลายชา
                  ใสครั้งละนอยๆ แตใสบอยครั้ง เมื่อดินมีความชื้นเหมาะสม



                  ตารางที่ 19 คําแนะนําการปลูกพืชบางชนิดในดินทราย
                      ชนิดพืช                             การจัดการดิน

                       ขาว      -ไถกลบตอซังขาวขณะเตรียมดิน  หากดินเปนกรด พีเอชต่ํากวา 5.5 ใส

                                 ปูนขาวหรือปูนโดโลไมตอัตรา 100-200 กิโลกรัมตอไร แลวปลูกพืชปุย

                                 สด เชนถั่วพรา ถั่วพุม และไถกลบลงดินกอนปลูกขาว
                                 -ใสปุยเคมี สําหรับขาวไมไวตอชวงแสง แบงใส 3 ครั้งคือครั้งที่ 1 ชวง

                                 ปกดํา หรือหลังขาวงอก  15-20 วัน ใชปุย 16-20-0 อัตรา 30 กิโลกรัมตอ

                                 ไร  รวมกับปุยยูเรีย 2  กิโลกรัมตอไรและปุยโพแทสเซียมคลอไรด(0-0-

                                 60) 10 กิโลกรัมตอไร  ครั้งที่ 2 ชวงขาวแตกกอ ใสปุยยูเรีย 13 กิโลกรัม
                                 ตอไรและครั้งที่ 3 ชวงขาวกําเนิดชอดอก ใสปุยยูเรีย 13 กิโลกรัมตอไร

                                 -สําหรับขาวไวตอชวงแสง  แบงใสปุย  2  ครั้ง  คือ  ครั้งที่ 1  ชวงปกดํา

                                 หรือหลังขาวงอก 15-20  วัน  ใชปุย 16-20-0  อัตรา 30  กิโลกรัมตอไร
                                 รวมกับปุยโพแทสเซียมคลอไรด(0-0-60) 10  กิโลกรัมตอไร   ครั้งที่ 2

                                 ชวงขาวกําเนิดชอดอก ปุยยูเรีย 10 กิโลกรัมตอไร
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161