Page 153 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 153

148

                  ไดผลผลิตเพิ่มขึ้น โดยแนะนําใหปลูกในชวงเดือนเมษายนถึงมิถุนายน ใชอัตราเมล็ด 5 กิโลกรัมตอไร  แลว

                  สับกลบเมื่อโสนอายุประมาณ 60 วัน
                            ในพื้นที่ดินเค็มนอยและเค็มปานกลางที่น้ําไมทวม หรือหลังเก็บเกี่ยวขาวแลวมีน้ําพอเพียง สามารถ

                  ปรับปรุงบํารุงดินแลวปลูกพืชเศรษฐกิจทนเค็มได โดยดําเนินการดังนี้

                             - ปรับปรุงบํารุงดินดวยอินทรียวัตถุ คือ แกลบ ปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืชสด
                             - เลือกปลูกพืชทนเค็มที่เหมาะสมกับระดับความเค็มของดิน เชน หนอไมฝรั่ง มะเขือเทศ กุยชาย

                  แตงแคนตาลูป บร็อคโคลี่ คะนา

                             -ใหน้ําระบบน้ําหยด จะชวยควบคุมความชื้นดิน ความเค็มดินและประหยัดน้ําไดดี

                             - ควรมีการคลุมดินหลังปลูกเพื่อรักษาความชื้นและปองกันการสะสมของเกลือที่ผิวดิน
                                พื้นที่ดินเค็มจัด เปนบริเวณที่มีคราบเกลือบนผิวดินปริมาณมาก มีน้ําใตดินเค็มอยูใกลผิวดิน มักเปน

                  ที่วางเปลาปลูกพืชเศรษฐกิจไมได  พืชทนเค็มจัดเทานั้นที่ขึ้นได  เชน  หนามพุงดอ  หนามพรม  แนวทางการ

                  จัดการเนนที่การฟนฟูแกไขสภาพเสื่อมโทรมของพื้นที่ดินเค็มจัด  ใหเปนทุงหญามีตนไมขึ้นได  แนวทางการ

                  จัดการเปนดังนี้
                                - ปลูกตนไมทนเค็มจัดและหญาชอบเกลือ  คือ ในพื้นที่ดินเค็มจัดที่น้ําไมทวมขัง ปลูกตน

                  กระถินออสเตรเลีย ระยะ 2x2 เมตร รวมกับการปลูกหญาดิกซี ใหเจริญเติบโตขึ้นคลุมหนาดิน ชวยควบคุม

                  การระเหยของน้ําที่จะพาเกลือมาสะสมบนผิวดิน และเศษซากพืชยังชวยเติมอินทรียวัตถุลงไปในดิน สําหรับ
                  พื้นที่ลุมน้ําทวมขังควรทํารองระบายน้ําทุกๆ 10 เมตร กรมพัฒนาที่ดินไดดําเนินการเห็นผลเปนรูปธรรมแลว

                  ในพื้นที่ อ.ขามทะเลสอ อ.ดานขุนทด จ.นครราชสีมา  และ ต.เมืองเพีย อ.ชนบท จ.ขอนแกน

                             - การทําคันคูเพื่อชะลางเกลือจากชั้นหนาดิน และควบคุมระดับน้ําใตดินเค็ม
                  ทําใหความเค็มของดินลดลง เชน อ.พระยืน จ.ขอนแกน อ.ดานขุนทด จ.นครราชสีมา และ อ. หนองบอ

                  จ.มหาสารคาม

                            พื้นที่รับน้ํา มีลักษณะเปนพื้นที่เนินซึ่งถูกเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินจากปาธรรมชาติมา

                  เปนการปลูกพืชไร เชน มันสําปะหลัง ทําใหเสียสมดุลการใชน้ําในพื้นที่ เกิดการยกระดับของน้ําใตดินเค็ม
                  ในที่ลุมตามเชิงเนินขึ้นมาใกลผิวดิน แนวทางการแกไขควรทําเปนระบบทั้งบริเวณพื้นที่เนินรับน้ําและพื้น

                  ที่ดินเค็มในที่ลุม ควรปรับปรุงดินดวยปุยอินทรียแลวปลูกไมยืนตนโตเร็ว เชน ยูคาลิปตัส สะเดา หรือปลูก

                  แฝกเปนแถบสลับกับพืชไร เชน ที่ อ.ขามทะเลสอ จ.นครราชสีมา
                                หากบนพื้นที่เนินรับน้ํามีน้ําใตดินไมเค็ม การนําน้ํานั้นมาใหเกษตรกรใชเพาะปลูกพืช เปนวิธีการ

                  หนึ่งที่สามารถลดระดับน้ําใตดินในที่ลุมได และยังทําใหเกิดความมั่นคงทางอาหารและมีเกษตรกรมีรายได

                  เพิ่มขึ้น
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158