Page 154 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 154

149

                  12.5.  ดินทราย

                             ดินทราย  หมายถึง ดินที่มีเนื้อดินเปนดินทรายหรือดินทรายปนดินรวน เกิดเปนชั้นหนามากกวา

                  200 เซนติเมตรจากผิวดิน บางพื้นที่หนามากกวา 50 เซนติเมตรจากผิวดินที่รองรับดวยชั้นดานดินเหนียวหรือ
                  ดินรวน หรือพบชั้นดานอินทรียภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน

                            ดินทรายมีเนื้อดินเปนดินทรายหรือดินทรายปนดินรวน ทําใหมีเนื้อดินในสวนที่เปนดินเหนียวและ

                  ดินทรายแปงนอย ดินไมมีโครงสราง การเกาะตัวหรือยึดตัวของเม็ดดินต่ํา เกิดการชะลางพังทลายของดินสูง
                  หนาดินบาง เกิดเปนรองกวางและลึก น้ําไหลซึมผานลงไปในดินชั้นลางไดงาย  ความสามารถในอุมน้ําหรือ

                  ดินมีความชื้นต่ํา ความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารต่ํา ทําใหดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                           ดินทรายพบกระจัดกระจายทั่วไปในทุกภาคของประเทศ มีเนื้อที่ 12,544,293 ไร (ตารางที่ 18) ไดแก

                  กลุมชุดดินที่ 23, 24, 41, 42, 43 และ 44 ดินทรายแบงออกได 3 ประเภทใหญๆ คือ
                             (1) ดินทรายในพื้นที่ลุม มีเนื้อที่ 3,006,825 ไร ไดแก กลุมชุดดินที่ 23 และ 24

                             (2)   ดินทรายในพื้นที่ดอนที่ไมมีชั้นดานอินทรียพบในเขตดินชื้นและเขตดินแหง มีเนื้อที่

                  9,017,898 ไร ไดแก กลุมชุดดินที่ 43 และ 44
                             (3)  ดินทรายในพื้นที่ดอนที่มีชั้นดานอินทรียภายใน 100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีเนื้อที่ 519,570

                  ไร ไดแก กลุมชุดดินที่ 42

                             12.5.1. ปญหาของดินทราย
                             (1) ปญหาเกี่ยวกับการชะลางพังทลายของดิน การชะลางพังทลายของดินจะเกิดรุนแรงในพื้นที่

                  ที่มีความลาดชันตั้งแต 5 เปอรเซ็นตขึ้นไป และเกิดรุนแรงมากในพื้นที่ลาดชันสูงหรือพื้นที่ภูเขา โดยเฉพาะ

                  ในพื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีมาตรการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมและถูกวิธี เกิดการสูญเสียหนาดิน หนาดินบาง

                  เปนรองลึกและกวาง เกิดพื้นที่เสื่อมโทรม ไมสามารถเพาะปลูกพืชได นอกจากนั้น ยังสงผลกระทบตอระบบ
                  นิเวศ เชน แมน้ําลําธาร เขื่อน อางเก็บน้ําชลประทานตื้นเขิน

                             (2) ปญหาเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณของดิน  ดินทรายจัดมีความอุดมสมบูรณต่ํา ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุ ธาตุโพแทสเซียมและฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนตอพืชอยูในเกณฑต่ําถึงต่ํามาก ความสามารถ

                  ในการดูดซับธาตุอาหารและแลกเปลี่ยนธาตุอาหารต่ํามาก เปนเหตุใหการตอบสนองตอการใชปุยเคมีของพืช
                  ต่ํา และสงผลใหไดผลผลิตต่ํา

                             (3) ปญหาเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของดิน ดินทรายไมมีโครงสรางหรือเปนเม็ดๆ ทําใหไม

                  เกาะยึดตัว สูญเสียดิน น้ําและธาตุอาหารไดงาย บางพื้นที่ดินแนนทึบจากการเขตกรรมไมเหมาะสม
                  โดยเฉพาะดินพื้นที่นาที่มีเนื้อดินคอนขางเปนทรายละเอียดและมีอินทรียวัตถุต่ํา  ทําใหเปนอุปสรรคตอการ

                  ชอนไชของรากพืช
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159