Page 152 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 152

147

                             - ถาพบชั้นดินเลนลึกและน้ําทะเลไมทวม ปรับพื้นที่และยกรองใหกวางตามชนิดพืชที่จะปลูก

                  ปลอยใหดินแหงและน้ําฝนชะลางเกลือออกไปจากดิน ตรวจสอบสมบัติดิน เชน ความเปนกรดของดิน ความ
                  เค็มของดิน พรอมปรับปรุงดินตามสภาพปญหาของดิน เชน การใชวัสดุปูน การระบายน้ําที่มีเกลือหรือเปน

                  กรดจัดออกไปจากพื้นที่ ปลอยใหดินยุบคงที่และมีวัชพืชขึ้น จึงปรับปรุงดินดวยการไถกลบพืชปุยสด

                  ปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมัก ปุยคอก มีการจัดการดินและน้ํา เชนเดียวกับการปรับปรุงดินเปรี้ยวจัด


                                   (2) ดินเค็มบกภาคกลาง

                                - เลือกชนิดพืชที่ทนเค็มมาปลูก เชน หนอไมฝรั่ง แคนตาลูป บร็อคโคลี่ เปนตน
                                - พัฒนาแหลงน้ําจืดหรือแหลงน้ําชลประทาน มาใชแทนแหลงน้ําบาดาล หรือ

                  น้ําใตดิน

                                - ปลูกพืชคลุมดินและรักษาหนาดินไมใหแหง เพื่อปองกันการนําน้ําที่มีเกลือละลายอยูมากมา

                  สะสมที่ผิวดิน
                              -  ปรับปรุงดินดวยการไถกลบพืชปุยสด หรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมัก ปุยคอกรวมกับ

                  ปุยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก

                              - สงเสริมการปลูกปา เพื่อปองกันการแพรกระจายของเกลือ

                                   (3) ดินเค็มบกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                              การแกปญหาควรจัดการปญหาดินเค็มในเชิงพื้นที่อยางเปนระบบ ทั้งการแกไขพื้นที่มีคราบ

                  เกลือบนผิวดินใหลดระดับความเค็มลง ใหสามารถปลูกพืชได และการแกไขสาเหตุของการแพรเกลือใน

                  พื้นที่นั้น

                            12.4.9. การฟนฟูแกไขปญหาดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                            การแกไขปญหาพื้นที่ดินเค็มนั้น สามารถทําใหกลับมาใชประโยชนทางการเกษตรไดตามความ

                  เหมาะสมของระดับความเค็มที่เกิดขึ้น และสามารถลดระดับความรุนแรงของปญหาดินเค็มลงได โดยจัดการ

                  เชิงพื้นที่อยางเปนระบบ แตตองมีการลงทุน และใหเวลาในการแกไขฟนฟู ดังนี้

                            พื้นที่ดินเค็มนอย-เค็มปานกลาง สวนใหญเปนที่ลุมใชในการปลูกขาว ในชวงแลงจะพบคราบเกลือ
                  บนผิวดินเปนหยอมๆ อยางไรก็ตามขาวใหผลผลิตต่ํา ดังนั้นกอนการปลูกขาวจะตองมีการจัดการที่ดีทั้ง ดิน

                  น้ําและพืช คือในการเตรียมดินเพื่อปลูกขาวควรปรับระดับหนาดินใหมีความสม่ําเสมอกัน ปรับปรุงดินในนา

                  โดยใชอินทรียวัตถุ เชน ปุยคอก แกลบ ปุยพืชสด ใชพันธุขาวทนเค็ม เชน ขาวดอกมะลิ 105 สามารถทําให
                  ผลผลิตขาวเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยจาก 10-15 ถังตอไร เปน 30-50 ถังตอไร

                            สําหรับพืชปุยสดที่กรมพัฒนาที่ดินสงเสริมใหมีการปลูกเพื่อใชเปนปุยพืชสดในพื้นที่ดินเค็มคือ

                  โสนอัฟริกัน เพราะเปนพืชตระกูลถั่วที่เจริญเติบโตไดในพื้นที่ดินเค็ม ใหมวลชีวภาพสูง มีปมทั้งทีรากและลํา
                  ตน ทําใหมีประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจนไดปริมาณสูงกวา หลังการสับกลบสงผลใหพืชที่ปลูกตามมา
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157