Page 148 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 148

143

                  ตารางที่ 16 รายละเอียดพื้นที่ดินอินทรียรายจังหวัด

                                 รายเชื่อจังหวัด                                เนื้อที่ (ไร)

                                     ชุมพร                                        4,271
                                     พัทลุง                                       3,357

                                นครศรีธรรมราช                                    70,659

                                    สงขลา                                         5,293

                                   นราธิวาส                                      176,529


                                 รวมทั้งประเทศ                                   260,109




                            12.3.1. ปญหาของดินอินทรีย
                                ดินอินทรียสวนใหญพบในพื้นที่ลุม มีน้ําทวมขังนาน อินทรียวัตถุเกาะตัวกันอยางหลวม ยืดหยุน

                  และลอยน้ํา เมื่อมีการระบายน้ําออกไป เมื่อดินแหงจะยุบตัวมาก ติดไฟงาย ดับยาก ดินและน้ําเปนกรดจัด

                  มาก เกิดความไมสมดุลของธาตุอาหาร ทําใหพืชแสดงอาการขาดธาตุอาหาร เชน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
                  โพแทสเซียม สังกะสี ทองแดง โบรอนและแมงกานีส เกิดความเปนพิษของเหล็กและอะลูมิเนียม เปนตน ทํา

                  ใหการเจริญเติบโตของพืชไมดี ใหผลผลิตต่ําและมีอายุการเก็บเกี่ยวสั้น นอกจากนี้การจัดการดินทําไดลําบาก

                  และเสียคาใชจายสูง

                            12.3.2. แนวทางการปรับปรุงแกไขดินอินทรีย
                            การใชประโยชนที่ดินบนพื้นที่ดินอินทรีย เมื่อมีการระบายน้ําออกไปจากพื้นที่จะทําใหดินและน้ํา

                  เปนกรดจัดมาก การปรับปรุงแกไขจึงดําเนินการเชนเดียวกับการปรับปรุงแกไขดินเปรี้ยวจัด โดยเลือกพื้นที่

                  บริเวณขอบๆ พรุที่น้ําทวมไมสูง มีชั้นวัสดุอินทรียบางและมีแหลงน้ําจืดที่สามารถนํามาใชได เปนตน
                            (1) การควบคุมระดับน้ําใตดิน  ควบคุมระดับน้ําใตดินใหคงที่ เพื่อปองกันการเติมออกซิเจนใหกับ

                  สารไพไรต ที่อยูใตชั้นดินอินทรีย เกิดเปนสารประกอบจาโรไซต ทําใหดินและน้ําเปนกรดจัดมาก ดังนั้น

                  การปลอยใหพื้นที่ดินอินทรียแหงเกินไปจะเกิดผลเสีย คือดินจะแปรสภาพเปนดินเปรี้ยวจัด และชั้นดิน
                  อินทรียจะยุบตัวบางลงมากจากการสูญเสียน้ํา สลายตัวเร็วและเกิดไฟไหม

                           (2) การเตรียมดิน ดินอินทรียเปนดินที่ยุบตัวงาย จึงควรเลือกเครื่องมือ หรือเครื่องจักรกลที่มีน้ําหนัก

                  เบา หรือใชแรงคนในการเตรียมดินเพื่อปลูกพืช

                           (3)  เลือกชนิดพืชปลูกใหเหมาะสม  ปลูกพืชที่ชอบดินกรดและทนตอสภาพน้ําขัง โดยมีการจัดการ

                  ดินตั้งแตการเตรียมดิน การค้ํายันไมใหพืชลม ชนิดพืชที่เหมาะสม ไดแก ขาว และยกรองปลูกพืชผัก
                  ขาวโพด มันเทศ มันสําปะหลัง กลวย ถั่วเขียว มะพราว และพืชตระกูลปาลม
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153