Page 150 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 150

145

                                (2)  ดินเค็มในแผนดินหรือดินเค็มบกที่พบในภาคกลาง ดินเค็มภาคกลาง เปนพื้นที่ที่เคยมีน้ําทะเล

                  ทวมถึงมากอนปจจุบันน้ําทะเลไมทวมถึงแลวลักษณะและสมบัติดินสวนใหญหนาดินจะแข็งและพบชั้นดิน
                  เลนของตะกอนน้ําทะเลในชวงความลึก 50-150 เซนติเมตรจากผิวดินหรือพบคราบเกลือมากบริเวณผิวดินที่

                  อาจเกิดจากการใชที่ดินอยางไมเหมาะสม เชน การนําน้ําใตดินหรือการชลประทานที่มีความเค็มมาใชใน

                  การเกษตร พบกระจัดกระจายเปนหยอมๆ มีเนื้อที่ 225,602 ไร

                                (3)  ดินเค็มในแผนดินหรือดินเค็มบกที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   ดินเค็มในแผนดินหรือดิน
                  เค็มบก เปนดินที่มีการสะสมเกลือจากการละลายของหินเกลือหรือจากระดับน้ําใตดินที่มีเกลือละลายน้ําอยู

                  มาก ทําใหพบชั้นสะสมเกลือมากหรือพบคราบเกลือที่ผิวดินมาก สําหรับพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบจากความ

                  เค็ม กรมพัฒนาที่ดินไดทําการจําแนกโดยใชคราบเกลือในฤดูแลงเปนหลัก พบวามีเนื้อที่ 11,506,882 ลานไร

                  แบงตามผลกระทบจากความเค็มตามตารางที่ 17 ไดดังนี้
                             1) ดินเค็มจัด เปนบริเวณที่ไดรับผลกระทบจากเกลือมาก เพาะปลูกไมได มีเนื้อที่ 104,019 ไร

                             - ดินเค็มมาก เปนบริเวณที่ไดรับผลกระทบจากเกลือมาก เพาะปลูกไมได มีเนื้อที่ 228,232 ไร

                             - ดินเค็มปานกลาง เปนบริเวณที่ไดรับผลกระทบจากเกลือปานกลาง พืชสวนใหญไดรับ
                  ผลกระทบ มีเนื้อที่ 3,836,342 ไร

                             - ดินเค็มนอย เปนบริเวณที่ไดรับผลกระทบจากเกลือนอย ถามีการจัดการไมดีหรือดินมีความชื้น

                  ไมเพียงพอ จะสงผลกระทบกับการเจริญเติบโตของพืช มีเนื้อที่ 7,338,289 ไร
                           12.4.6. สาเหตุของการแพรกระจายดินเค็ม

                                       (1) การแพรกระจายดินเค็มที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ไดแก การที่เกลือเคลื่อนยายขึ้นมาบนผิว

                  ดินตามธรรมชาติ เมื่อเกิดการผุพังสลายตัวของหินดินดานหรือหินทรายที่มีเกลือ หรือการระเหยของน้ําใต

                  ดินเค็มที่อยูตื้นใกลผิวดินและพาเกลือขึ้นมาสะสมที่ผิวดิน
                                       (2) การแพรกระจายดินเค็มที่เกิดขึ้นโดยมนุษย  ไดแก การตัดไมทําลายปาบนเนินพื้นที่เนิน

                  รับน้ํา การทําเกลือ การใชน้ําชลประทานที่ไมเหมาะสม และเปลี่ยนการใชประโยชนที่ดินเพื่อปลูกพืช

                  เศรษฐกิจ เชน การทําลายปาแลวนําพื้นที่มาปลูกมันสําปะหลัง ทําใหเกิดความไมสมดุลของระบบน้ําใตดิน

                  ในพื้นที่นั้น น้ําใตดินเค็มที่อยูในที่ลุมคอยๆ ยกระดับขึ้นมาใกลผิวดิน มีคราบเกลือบนผิวดินมากขึ้น
                                 12.4.7. ปญหาดินเค็ม

                                       (1) ดินเค็มชายทะเล มีน้ําทะเลทวมถึงเปนประจํา เนื้อดินเปนดินเลนเละ การรองรับน้ําหนัก

                  ของดินต่ํามาก การระบายน้ําเลวมาก ขาดแคลนแหลงน้ําจืด บางพื้นที่มีศักยภาพกอใหเกิดเปนดินเปรี้ยวจัด

                                       (2)  ดินเค็มบกที่พบในภาคกลาง มีน้ําใตดินเค็มและพบคราบเกลือแพรกระจายเปนหยอมๆ
                  และขาดแคลนแหลงน้ําจืด

                                      (3) ดินเค็มบกที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปญหาดินเค็ม มีเกลือละลายน้ําไดมาก มีชั้น

                  ดานแข็งที่สะสมเกลือและขาดแคลนแหลงน้ําจืด
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155