Page 149 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 149

144

                            (4)  การใสวัสดุปูนทางการเกษตร ลดความเปนกรดของดินโดยใสวัสดุปูนตามความรุนแรงของ

                  ความเปนกรดของดิน เชนเดียวกับการจัดการดินเปรี้ยวจัด

                             (5)  การใสปุย  ดินอินทรีย เมื่อแหงจะเปนกรดจัดมาก เกิดความไมสมดุลของธาตุอาหาร และขาด
                  ธาตุอาหาร เชน ขาดธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม สังกะสี ทองแดง โบรอนและแมงกานีส เกิด

                  ความเปนพิษของเหล็กและอะลูมิเนียม เปนตน จึงควรใหปุยที่มีธาตุอาหารดังกลาวรวมกับการใชวัสดุปูน



                  12.4.  ดินเค็ม
                                  ดินเค็ม หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือที่ละลายอยูในสารละลายดินมากเกินไป จนมีผลกระทบตอ

                  การเจริญเติบโตและการใหผลผลิตของพืช ทั้งนี้เนื่องจากทําใหพืชเกิดอาการขาดน้ํา และมีการสะสมไออนที่

                  เปนพิษในพืชมากเกินไป นอกจากนี้ยังทําใหเกิดความไมสมดุลของธาตุอาหารพืช
                            การวัดคาความเค็มของดิน มักใชการนําไฟฟาของดิน มีหนวยเปนเดซิซีเมนสตอเมตร (dS/m) โดย

                  เปนคาการนําไฟฟาของดินที่สกัดไดจากดินขณะที่อิ่มตัวดวยน้ําที่ 25 องศาเซลเซียส มาใชประเมินปริมาณ

                  เกลือและอิทธิพลของเกลือในดินตอการเจริญเติบโตและการใหผลผลิตของพืช ซึ่งสามารถแบงระดับความ
                  เค็มของดินไดดังนี้

                           12.4.1. ดินไมเค็ม มีคาการนําไฟฟา 0-2 เดซิซีเมนสตอเมตร (dS/m) ไมมีผลกระทบตอการปลูก

                           12.4.2. ดินเค็มนอย มีคาการนําไฟฟา 2-4 เดซิซีเมนสตอเมตร (dS/m) พืชบางชนิดที่มีความไวตอ

                  ระดับความเค็ม อาจมีผลผลิตลดลง
                             12.4.3. ดินเค็มปานกลาง มีคาการนําไฟฟา 4-8 เดซิซีเมนสตอเมตร (dS/m) พืชสวนใหญใหผลผลิต

                  ลดลง

                             12.4.4. ดินเค็มมาก มีคาการนําไฟฟา 8-16 เดซิซีเมนสตอเมตร (dS/m) พืชที่ทนตอระดับความเค็ม

                  เทานั้นที่ยังคงใหผลผลิตตามปกติ

                             12.4.5. ดินเค็มจัด มีคาการนําไฟฟามากกวา 16 เดซิซีเมนสตอเมตร (dS/m) พืชที่ทนตอระดับความ

                  เค็มบางชนิดเทานั้นที่ยังคงใหผลผลิตตามปกติ
                                ประเทศไทย มีพื้นที่ดินที่ไดรับผลกระทบจากความเค็ม 14,393,467 ไร แบงตามสภาพพื้นที่หรือ

                  แหลงที่มาของเกลือ ไดดังนี้

                            (1)  ดินเค็มชายทะเล ดินเค็มชายทะเลเปนดินที่เกิดจากอิทธิพลของน้ําทะเลทวมถึงในปจจุบันหรือ

                  เคยทวมถึงมากอน ปจจุบันยังมีเกลือที่ละลายน้ําไดอยูมาก พบมากบริเวณชายฝงทะเลทั้งสองดานของภาคใต
                  ภาคกลาง และภาคตะวันออก พืชพรรณที่ขึ้นในบริเวณนี้เปนไมชายเลน ซึ่งทนเค็มไดดี เชน โกงกาง แสม

                  ลําพู เปนตน สําหรับพื้นที่ดินเค็มชายทะเลโดยอาศัยจากขอมูลการจําแนกดินดวยกลุมชุดดินพบวามีพื้นที่

                  2,660,983 ไร
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154