Page 147 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 147

142

                           (2) การใสอินทรียวัตถุ ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก ปุยพืชสด  ชวยเพิ่มการดูดซับธาตุอาหารพืช ในดิน

                  ลดการสูญเสียธาตุอาหารจากการถูกชะลาง  และอินทรียวัตถุยังชวยลดความเปนพิษของเหล็กและ
                  อะลูมิเนียมในดินดวย

                            (3) เพิ่มธาตุอาหาร การใสปุยหมัก ปุยคอก ปุยพืชสด รวมกับปุยเคมี ทั้งปุยไนโตจรเจน ฟอสฟอรัส

                  และโพแทสเซียม ตามชนิดและปริมาณที่เหมาะสมกับพืชที่ปลูก และฉีดพนดวยฮอรโมนหรือน้ําหมักชีวภาพ

                                (4)  การคลุมดิน ใชวัสดุคลุมดิน เศษพืช หรือปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน เปนการรักษาหนาดิน

                  ปองกันการชะละลายหนาดิน รักษาความชื้นในดิน และเพิ่มอินทรียวัตถุใหกับดิน
                                  (5) เลือกชนิดพืชและพันธุพืชที่ชอบดินกรดมาปลูก ดินกรดที่ไดรับการปรับปรุงแกไขแลว สามารถ

                  ปลูกพืชไดเกือบทุกชนิด แตตองมีการจัดการน้ําและธาตุอาหารพืชใหเหมาะสม เกษตรกรควรรูชวงเปนกรด

                  เปนดางของดินที่เหมาะสมสําหรับพืชแตละชนิดเพื่อจะไดแกไขความเปนกรดของดินใหอยูในชวงพอดีกับ
                  ความตองการของพืชชนิดนั้นๆ พืชหลายชนิดสามารถทนทานและเจริญเติบโตไดดีในดินกรด เชน  ขาว

                  แตงโม ขาวโพด ขาวฟาง  ออย  มันสําปะหลัง  ถั่ว  ยางพารา ปาลมน้ํามัน กาแฟ กลวย มะมวง  มะมวงหิม


                  พานต ยาสูบ และสับปะรด เปนตน
                          (6) เลือกใชระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม เลือกระบบการปลูกพืชที่มีระบบรากลึกสลับกับรากตื้น

                  เพื่อเปนการนําเอาอาหารที่ถูกชะละลายลงในดินลางมาใช ปลูกพืชหมุนเวียนชนิดตางๆ สลับกับพืชตระกูล


                  ถั่ว และการปลูกหญาแฝกลอมรอบไมผล เพื่อดักเก็บตะกอนและรักษาความชื้นในดินบริเวณรอบๆ ตนไม


                  12.3. ดินอินทรีย


                            ดินอินทรีย  หมายถึง ดินที่มีวัสดุอินทรียหรือมีเศษซากพืชทับถมกันปริมาณมากและเปนชั้นหนา
                  มากกวา 40  เซนติเมตรจากผิวดิน พบในพื้นที่ลุมน้ําขังหรือมีน้ําขังนานเกือบตลอดป ดินและน้ําเปนกรดจัด

                  มาก เนื่องจากมีการสะสมเศษชิ้นสวนพืชในสภาพน้ําขัง ทําใหการสลายตัวของเศษชิ้นสวนพืชเปนไปไดชา

                  มากและมักพบชั้นดินเลนของตะกอนน้ําทะเลที่มีองคประกอบของกํามะถันอยูสูง (Pyrite) อยูใตชั้นดิน
                  อินทรีย ซึ่งเมื่อชั้นดินนี้แหงจะแปรสภาพเปนดินเปรี้ยวจัด พบในบริเวณที่ลุมน้ําขังชายฝงทะเลของภาคใต

                  และภาคตะวันออก มีพื้นที่ประมาณ 260,109 ไร (ตารางที่ 16) ประกอบดวย กลุมดินอินทรียที่มีชั้นวัสดุ

                  อินทรียหนา 40-100  เซนติเมตรจากผิวดิน ไดแก กลุมชุดดินที่ 57  และกลุมดินอินทรียที่มีชั้นวัสดุอินทรีย

                  หนามากกวา 100 เซนติเมตรจากผิวดิน ไดแก กลุมชุดดินที่ 58
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152