Page 146 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 146

141

                           (2) ระบบรากพืชถูกทําลาย เนื่องจากมีอะลูมิเนียมและเหล็กละลายออกมามากจนเปนพิษตอพืช

                  และดินขาดธาตุอาหารพืช ทําใหพืชที่ปลูกไมสามารถเจริญเติบโตไดดีเหมือนปกติ จึงใหไดผลผลิตพืชต่ํา
                            (3) เกิดการระบาดของเชื้อโรคพืชหลายชนิด เชน เชื้อราโรครากเนาโคนเนาในพืช เจริญเติบโตไดดี

                  ในสภาพดินกรด ทําใหพืชที่ปลูกเกิดความเสียหาย


                                     ตารางที่ 15 รายละเอียดพื้นที่ดินกรดรายภาค (ไร)

                                          รายการ                          เนื้อที่ (ไร)

                              1. ดินกรดพื้นที่ลุม                        35,814,121

                                - ภาคเหนือ                                5,576,364

                                - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ                   21,054,275
                                - ภาคกลาง                                 1,866,349

                                - ภาคตะวันออก                             2,036,990

                                - ภาคใต                                  5,280,143

                              2. ดินกรดพื้นที่ดอน                         59,596,470
                                - ภาคเหนือ                                9,761,815

                                - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ                   27,791,809

                                - ภาคกลาง                                 3,608,291
                                - ภาคตะวันออก                             5,167,150

                                - ภาคใต                                  13,267,405

                                       รวมทั้งประเทศ                      95,410,051


                             ที่มา: สวนมาตรฐานการสํารวจจําแนกดินและที่ดิน (2553)


                              12.2.3. แนวทางการปรับปรุงแกไขดินกรด

                              (1) การใชวัสดุปูนทางการเกษตรลดความรุนแรงของกรดในดิน

                                  1) วัสดุปูนที่นิยมใช ไดแก ปูนโดโลไมต  ซึ่งมีทั้งแคลเซียมและแมกนีเซียมเปนองคประกอบ
                  อัตราปูนที่ใชขึ้นอยูกับความรุนแรงของกรดในดินโดยทั่วไปใชปูนโดโลไมต อัตรา 300-500 กิโลกรัมตอไร

                                  2) การแกความเปนกรดของดินในที่ดอนที่ระดับลึกมากกวา 15 เซนติเมตร ซึ่งดินเปนกรดจัด

                  จนรากพืชไมสามารถแผขยายลงไปได  การใชวัสดุปูนมักไมไดผล  เนื่องจากวัสดุปูนมีการละลายและเคลื่อน
                  ลงไปในดินลางไดนอย  จึงตองใชวัสดุอื่นๆ  เชน  ยิปซัม  หรือฟอสโฟยิปซัม  ที่มีคุณสมบัติในการละลาย

                  และสามารถแทรกซึมลงไปในดินลาง  อัตรายิปซัมที่ใชขึ้นอยูกับความรุนแรงของกรดในดิน
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151