Page 98 - หลักการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในเขตพัฒนาที่ดิน
P. 98

93

                                น้ําเปนปจจัยที่สําคัญของสิ่งมีชีวิต การเพิ่มของประชากร การขยายตัวของชุมชนเมือง และการ

                  พัฒนาทางดานอุตสาหกรรม มีผลทําใหมีการใชน้ําปริมาณมาก มีการปลอยน้ําเสีย ทําใหเกิดปญหาคุณภาพ
                  น้ํา และสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในแมน้ําลําคลอง และชายฝงทะเลรวมถึงความเปนอยูของมนุษยดวย

                          น้ําเปนทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด ไมสามารถจัดหาเพิ่มไดตลอดเวลา โดยเฉพาะเวลาที่มีความ

                  ตองการ หรือจําเปนตองใชประโยชน เพราะปริมาณน้ําจะขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม และสภาวะทางธรรมชาติ
                          แมวาในโลกนี้จะมีน้ําเปนจํานวน 2 ใน 3 ของพื้นที่โลก แตปริมาณน้ําสวนมากจะเปนน้ําเค็มอยูใน

                  ทะเล มหาสมุทร และทะเลสาบ คิดเปน 97.3  เปอรเซ็นต  ที่เหลือเปนน้ําจืด 2.67  เปอรเซ็นต ยังเปนน้ําที่ใช

                  ประโยชนไดนอย เพราะสวนใหญ เปนน้ําแข็งอยูในแถบขั้วโลก และเปนน้ําใตดินที่ไมสามารถนํามาใช

                  ประโยชนได
                          น้ําเปนทรัพยากรที่มีความสําคัญตอชีวิตคน พืช และสัตวมากที่สุด แตก็มีคานอยที่สุดเมื่อ

                  เปรียบเทียบกับทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ น้ําเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิตของมนุษยและเปน

                  องคประกอบที่สําคัญของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย


                  10.2. แหลงตนกําเนิดของน้ํา

                           น้ําฝน ถือเปนแหลงกําเนิดของน้ําแทบทั้งหมดที่มีอยูในประเทศไทย ฝนที่ตกเมื่อไหลลงสูแมน้ํา

                  ลําคลอง แองน้ํา หรืออางเก็บน้ํา จะเรียกวา น้ําทา เมื่อซึมลงสูใตดินจะเรียกวาน้ําใตดินหรือน้ําบาดาล
                           น้ําทา คือ น้ําไหลในแมน้ําลําธาร เกิดจากน้ําฝนที่ตกลงมาในพื้นที่รับน้ํา บางสวนสูญเสียไป สวน

                  ที่เหลือก็จะไหลไปยังที่ลุมลงสูแมน้ํา แบะลําธารกลายเปนน้ําทา  คาดวารอยละ 75 ของน้ําทา จะสูญเสียไป

                  เนื่องจากการระเหยกลายเปนไอน้ํา เมื่อซึมลงสูใตดินกลายเปนน้ําใตดินและน้ําบาดาล และขังอยูตามแหลง
                  น้ําตางๆ เพียงรอยละ 25 ที่ไหลลงสูแมน้ําลําธารไปเปนน้ําทา

                                น้ําใตดิน สามารถแบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ น้ําตื้นเปนน้ําใตดินที่อยูในชั้นดินกรวดทรายระดับตื้น

                  และน้ําบาดาลคือน้ําใตดินที่แทรกอยูในชั้นดิน กรวดทรายระหวางชั้นทึบน้ํา 2 ชั้น หรือน้ําใตดินที่อยูในรอย
                  แตกของหิน ซึ่งแหลงน้ําใตดินที่สําคัญสามารถนํามาพัฒนาใชประโยชนไดในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

                  ของประเทศ เชนเดียวกับทรัพยากรชนิดอื่นๆ ซึ่งนับวันจะมีบทบาทเพิ่มขึ้น แหลงน้ําบาดาลของประเทศมีอยู

                  โดยทั่วไปในทุกภาค ซึ่งจะใหปริมาณน้ํามากนอยเทาใดขึ้นอยูกับลักษณะทางกายภาพของชั้นดิน



                  10.3. สถานการณทรัพยากรแหลงน้ํา
                             วิกฤตการณการขาดแคลนน้ําสวนใหญมีสาเหตุจากความตองการน้ําใชในกิจกรรมตางๆ มีปริมาณ

                  เพิ่มสูงขึ้น ความสมดุลของทรัพยากรน้ําระหวางฤดูแลงและฤดูฝนไมสมดุล รวมถึงการใชน้ําในกิจกรรม

                  ตางๆ ที่ขาดแผนการใชที่รัดกุมและเหมาะสม รวมทั้งขาดองคกรระดับชาติที่จะเขามาบริหารจัดการแหลงน้ํา
                  ตลอดจนแหลงน้ําที่มีอยูในปจจุบันมีสภาพเสื่อมโทรม เนาเสีย คุณภาพไมเหมาะสมไมสามารถนํามาใชได

                  จากปญหาที่กลาวมานี้ เกิดจากสาเหตุหลายประการ เชน
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103