Page 63 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 63

3-7





                                - หน่วยที่ดินที่ 32gmb เป็นดินที่ได้รับอิทธิพลจากการแช่ขังของน้้า เป็นดินที่ได้รับ

                  อิทธิพลจากการแช่ขังของน้้า สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ  มีการปั้นคันนาเพื่อท้าการ

                  ปลูกข้าว มีเนื้อที่ 393 ไร่ หรือร้อยละ 0.03 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (3)  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินร่วนละเอียด เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ของหิน
                  ต้นก้าเนิดชนิดต่าง ๆ แล้วถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ ทั้งหินอัคนี หรือ

                  หินตะกอน หรือมาจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอนล้าน้้า บริเวณพื้นที่ดอน ที่มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือ

                  ค่อนข้างราบเรียบ ถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นกลุ่มดินลึกมากมีการระบายน้้าดี มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย
                  ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีดินเป็นสีน้้าตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ์

                  ตามธรรมชาติต่้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมีค่าความเป็นกรด-ด่างดินบนอยู่ระหว่าง 5.0-5.5  ค่าความจุ

                  ในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่้า และความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต่้า ค่าการน้าไฟฟ้าของดินต่้า

                  ปัญหาส้าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า
                  ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปัญหาเกี่ยวกับชะล้างพังทลายของหน้าดิน ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูก

                  ยางพารา ปาล์มน้้ามัน กาแฟ ไม้ผลต่างๆ เช่น เงาะ มังคุด บางแห่งยังคงสภาพป่าธรรมชาติ และทุ่งหญ้า

                  ธรรมชาติ แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ
                                    -  หน่วยที่ดินที่ 34 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 22,566 ไร่

                  หรือร้อยละ 1.76 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                -  หน่วยที่ดินที่ 34b  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการปั้นคันนา

                  เพื่อปลูกข้าว มีเนื้อที่ 565 ไร่ หรือร้อยละ 0.04 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                -  หน่วยที่ดินที่ 34gm  เป็นดินที่ได้รับอิทธิพลจากการแช่ขังของน้้า สภาพพื้นที่
                  ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 1,287 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 34gmB เป็นดินที่ได้รับอิทธิพลจากการแช่ขังของน้้า สภาพพื้นที่เป็น

                  ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 1,647 ไร่ หรือร้อยละ 0.13 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                -  หน่วยที่ดินที่ 34B  สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 9,620 ไร่

                  หรือร้อยละ 0.75 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                - หน่วยที่ดินที่ 34Bb สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้นคันนา

                  เพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 105 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                -  หน่วยที่ดินที่ 34C สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 1,216 ไร่ หรือร้อยละ

                  0.09 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา









                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68