Page 66 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 66

3-10





                                -  หน่วยที่ดินที่  45gm  เป็นดินที่ได้รับอิทธิพลจากการแช่ขังของน้้า  สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 1,331 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 45gmB  เป็นดินที่ได้รับอิทธิพลจากการแช่ขังของน้้า สภาพพื้นที่เป็น
                  ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 978 ไร่ หรือร้อยละ 0.08ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                    -  หน่วยที่ดินที่  45B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 120,078 ไร่

                  หรือร้อยละ 9.34 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                    - หน่วยที่ดินที่ 45Bb สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้นคันนาเพื่อ
                  ปลูกข้าว มีเนื้อที่ 1,285 ไร่ หรือร้อยละ 0.10 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                    -  หน่วยที่ดินที่  45C สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 25,437 ไร่ หรือ

                  ร้อยละ 1.98 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 45D สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 2,073 ไร่ หรือร้อยละ
                  0.16 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (8)  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินร่วนลึกปานกลางถึงเศษหิน เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่

                  กับที่ หรือถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ หรือจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวก
                  ตะกอนล้าน้้า บนพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนชัน เป็นกลุ่มดินลึก

                  ปานกลาง มีการระบายน้้าดี เนื้อดินช่วง 50  เซนติเมตร  ตอนบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วน

                  เหนียวปนทราย ในระดับความลึก ประมาณ 50-100 เซนติเมตร จะพบชั้นดินปนเศษหินหรือลูกรัง
                  สีดินเป็นสีน้้าตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า ปฏิกิริยาดินเป็นกรด

                  จัดมากถึงกรดจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.0-5.5 ปัญหาส้าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า ดินค่อนข้างเป็นทราย ถ้าพบบริเวณที่มีความลาดชันสูงเกิดการชะ
                  ล้างพังทลายของหน้าดิน ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวส่วนใหญ่ใช้ปลูกไม้ยืนต้น แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ

                  คือ

                                    -  หน่วยที่ดินที่ 50B สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่ 519 ไร่

                  หรือร้อยละ 0.04 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                    - หน่วยที่ดินที่ 50C สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 2,821 ไร่ หรือร้อยละ

                  0.22 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                    - หน่วยที่ดินที่ 50D สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนชัน มีเนื้อที่ 1,191 ไร่ หรือร้อยละ
                  0.09 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (9)  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินตื้นถึงชั้นหินพื้น เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ หรือถูก

                  เคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของวัตถุต้นก้าเนิดดินที่มาจากหินเนื้อหยาบ บนบริเวณพื้นที่ดอน






                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71