Page 59 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 59

3-3





                            (3)  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินเหนียวลึกมาก  เป็นกลุ่มดินที่เกิดจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวก

                  ตะกอนล้าน้้า ลักษณะพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีน้้าแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นกลุ่มดินลึกที่

                  มีการระบายน้้าเลวหรือค่อนข้างเลว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินเหนียวสีเทาแก่ ดินล่าง
                  เป็นดินเหนียวสีน้้าตาลอ่อน มีสีเทาหรือสีน้้าตาลปนเทา พบจุดประสีน้้าตาล สีเหลืองหรือสีแดงปะปน

                  ตลอดชั้นดิน ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติปานกลาง ปฏิกิริยาเป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่าง

                  ปานกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 6.0-8.0 แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ

                                    - หน่วยที่ดินที่ 7 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 621 ไร่
                  หรือร้อยละ 0.05 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 7I สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีระบบชลประทาน

                  มีเนื้อที่ 644 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                    -  หน่วยที่ดินที่ 7M  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการดัดแปลง
                  พื้นที่โดยการยกร่องเพื่อปลูกพืช มีเนื้อที่ 489 ไร่ หรือร้อยละ 0.04 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 7MI สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการดัดแปลง

                  พื้นที่โดยการยกร่องเพื่อปลูกพืช และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่ 610 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของพื้นที่
                  ลุ่มน้้าสาขา

                               (4)   กลุ่มชุดดินที่เป็นดินเปรี้ยวจัดตื้น เป็นกลุ่มดินที่เกิดจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวก

                  ตะกอนผสมของตะกอนล้าน้้าและตะกอนน้้าทะเลแล้วพัฒนาในสภาพน้้ากร่อย ในบริเวณที่ราบลุ่มที่
                  ห่างจากทะเลไม่มากนัก มีน้้าแช่ขังในช่วงฤดูฝน เป็นกลุ่มดินลึกที่มีการระบายน้้าเลวหรือค่อนข้างเลว

                  เนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินบนมีสีด้าหรือสีเทาแก่ ดินล่างมีสีเทา มีจุดประสีน้้าตาลปนเหลือง สีแดง ปะปน

                  ตลอดชั้นดิน และพบจุดปะสีเหลืองฟางข้าวของสารจาโรไซต์ภายในระดับความลึก 50  เซนติเมตร
                  จากผิวดิน ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า และเป็นกรดรุนแรงมากถึงกรดจัดมาก มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

                  น้อยกว่า 4.5 ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ท้านา บางแห่งมีการยกร่องปลูกปาล์มน้้ามัน และยางพารา หาก

                  ไม่มีการใช้ปูนเพื่อแก้ไขความเป็นกรดของดิน พืชที่ปลูกมักไม่ค่อยได้ผล แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ

                         -            หน่วยที่ดินที่ 10 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 1,921 ไร่
                  หรือร้อยละ 0.15 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (5)  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินเปรี้ยวจัดลึกปานกลาง เป็นกลุ่มดินที่เกิดจากวัตถุต้นก้าเนิด

                  ดินพวกตะกอนผสมของตะกอนล้าน้้าและตะกอนน้้าทะเลแล้วพัฒนาในสภาพน้้ากร่อย ในบริเวณที่
                  ลุ่มต่้าชายฝั่งทะเล หรือบริเวณพื้นที่พรุ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีน้้าแช่ขังในช่วง

                  ฤดูฝน เป็นกลุ่มดินลึกที่มีการระบายน้้าเลวมาก มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินบนมีสีด้าหรือสีเทาปนด้า

                  ซึ่งมีปริมาณอินทรียวัตถุสูง ดินล่างมีสีเทา  มีจุดประสีเหลืองและสีน้้าตาลปะปนอยู่เล็กน้อย  ดินช่วงล่าง






                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64