Page 68 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 68

3-12





                                    -  หน่วยที่ดินที่ 53Bb สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการปั้นคันนา

                  เพื่อปลูกข้าว มีเนื้อที่ 84 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                - หน่วยที่ดินที่ 53C สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อที่ 4,684 ไร่ หรือร้อยละ
                  0.36 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (11) กลุ่มชุดดินที่เป็นดินร่วนที่เกิดจากดินตะกอนน้้าพาเชิงซ้อน กลุ่มดินนี้พบบริเวณ

                  สันดินริมน้้า บริเวณพื้นที่แนวตะกอน มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ เกิดจากตะกอน

                  ล้าน้้าพัดพามาทับถมกัน มีการผสมกันของตะกอนหลายชนิด ดินที่พบส่วนใหญ่มีการระบายน้้าดี
                  ถึงดีปานกลาง ส่วนใหญ่เป็นดินลึก เนื้อดินเป็นพวกดินร่วน บางแห่งมีชั้นดินที่มีเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย

                  หรือมีชั้นกรวด ซึ่งแสดงถึงการตกตะกอนต่างยุคของดินอันเป็นผลมาจากการเกิดน้้าท่วมใหญ่ในอดีต

                  ดินกลุ่มนี้โดยทั่วไปมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง และปฏิกิริยาเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง มีค่า

                  ความเป็นกรดเป็นด่าง ประมาณ 6.0-7.0 เนื่องจากหน่วยแผนที่นี้เป็นหน่วยผสมของดินหลายชนิด จึง
                  เรียกว่าดินตะกอนล้าน้้าที่มีการระบายน้้าดี ปัจจุบันดินนี้มีการใช้ประโยชน์ค่อนข้างกว้างขวาง นิยมใช้

                  ปลูกไม้ผล และไม้ยืนต้นต่างๆ แบ่งเป็นหน่วยที่ดินต่างๆ คือ

                                    -  หน่วยที่ดินที่ 60 สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อที่ 2,601 ไร่
                  หรือร้อยละ 0.20 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                    -                 หน่วยที่ดินที่ 60b สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ มีการปั้นคันนา

                  เพื่อท้าการปลูกข้าว มีเนื้อที่ 258 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                (12)   หน่วยที่ดินที่ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาที่มีความลาดชันมากกว่าร้อยละ 35

                  พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการส้ารวจและจ้าแนกดิน ควรอนุรักษ์ไว้เป็นแหล่งต้นน้้าล้าธาร ได้แก่ หน่วยที่ดินที่ 62

                  (SC : พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน) มีเนื้อที่ 309,009 ไร่ หรือร้อยละ 24.04 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                             3)  หน่วยเบ็ดเตล็ด มีดังนี้

                            (1)   พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้า (AQ) มีเนื้อที่ 42,411 ไร่ หรือร้อยละ 3.30 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                            (2)   ดินตะกอนชะวากทะเลปะปนกัน  (EC)  มีเนื้อที่ 314,772 ไร่ หรือร้อยละ 24.49

                  ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                            (3)   ที่ดินดัดแปลง (ML) มีเนื้อที่ 138 หรือร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (4)   บ่อขุด (P) มีเนื้อที่ 760 ไร่ หรือร้อยละ 0.06 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                            (5)   พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง (U) มีเนื้อที่ 41,606 ไร่ หรือร้อยละ 3.24 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                (6)   พื้นที่น้้า (W) มีเนื้อที่ 61, 879 ไร่ หรือร้อยละ 4.82 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา











                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73