Page 60 - การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการพัมนาที่ดินชุมชนบนพื้นที่สูงบ้านห้วยแล้ง ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
P. 60

49


                                        ดังนั้น  C = สัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า            = 0.65
                                               I = ปริมาณน้ าฝนมีหน่วยเป็น                = 1,713 มิลิเมตร

                                               A = พื้นที่ของบริเวณรับน้ ามีหน่วยเป็นเฮกตาร์    = 201   ไร่
                                                                                                                             6.25
                                        แทนค่าในสูตร    Q =  CIA
                                                         =  0.70 x 1,713 x 201

                                                                   6.25
                                พื้นที่รับน้ า B มีปริมาณน้ าไหลบ่าหลังด าเนินงาน  = 38,563.05   ม 3
                                                                                                        3
                         ดังนั้นรวม 2 พื้นที่รับน้ าจะมีปริมาณน้ าไหลบ่า   =  28,778.40 + 38,563.05 = 67,341.45   ม


                  4.6 การประเมินปริมาณเก็บกักน้ า
                         ในพื้นที่รับน้ า A  และ B ไม่มีการสร้างอ่างเก็บน้ า หรือสระเก็บน้ าขนาดเล็กในไร่นา เนื่องจากพื้นที่ไม่
                  เหมาะสม จากการส ารวจพื้นที่เพื่อออกแบบงานจัดระบบพบว่ามีพื้นที่เหมาะสมส าหรับสร้างบ่อดักตะกอนดิน 5 จุด
                  แต่เนื่องจากมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ านี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อท าให้ตะกอนดินที่เกิดขึ้น (คันคูรับน้ ารอบเขาแบบ

                  ที่ 6) ลงมาสะสมและตกตะกอนในบ่อก่อนที่จะให้น้ าที่เหลือลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติต่อไป แต่อาจจะเก็บกักน้ าได้บ้าง
                  ซึ่งเป็นผลพลอยได้ ดังนั้นจึงประเมินปริมาณเก็บกักน้ าของบ่อดักตะกอนดินดังกล่าว เพื่อรับปริมาณน้ าไหลบ่าที่
                  เกิดขึ้น ดังนี้

                                4.6.1  บ่อดักตะกอนดินจุดที่  1  การประเมินปริมาณกักเก็บน้ าโดยใช้การประเมินจากสูตร
                  1/2xฐานxสูง (ความยาวของระดับน้ าท่วมถึง ที่เส้นระดับ 1.5 เมตร)xความลึกของสันเขื่อนเนื่องจากความลึกของ
                  สันเขื่อนสูงสุด 2 เมตร แต่มีร่องระบายน้ า (Spin  way) โดยก่อนที่ระดับน้ าจะถึงจุดสูงสุดของสันเขื่อนให้มีการ
                  ระบายน้ าออกไปที่ระดับ 1.5 เมตร เพื่อความปลอดภัยของสันเขื่อน ดังนั้นจึงคิดความลึกของระดับน้ า 1.5 เมตร
                                        สูตร ปริมาณเก็บน้ า = 1 x ฐาน x สูง x ความลึกของสันเขื่อน

                                                                             2
                                        โดย  ฐาน = ความยาวของสันเขื่อน = 28 เมตร
                                               สูง  = ความยาวของระดับที่น้ าท่วม= 10 เมตร

                                                     ความลึกของสันเขื่อน =  1.5  เมตร
                                          แทนค่าในสูตรปริมาณเก็บกักน้ า = 1 x 28 x 10 x 1.5
                                                                            2
                                                                           3
                                                                                        =  210  ม
                                4.6.2 บ่อดักตะกอนดินจุดที่ 2
                                        สูตร ปริมาณเก็บน้ า = 1 x ฐาน x สูง x ความลึกของสันเขื่อน
                                                                               2
                                        โดย  ฐาน = ความยาวของสันเขื่อน = 30 เมตร

                                              สูง  = ความยาวของระดับที่น้ าท่วม= 20 เมตร
                                                     ความลึกของสันเขื่อน =  1.5  เมตร
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65