Page 106 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 106

78




                  เสนความสูงหาง ชั้นละ 2 ฟุต สามารถใชคํานวณคาความชันไดหากกระทําอยางรอบคอบ การศึกษา

                  ความสัมพันธระหวางความชันกับการสูญเสียดินในแปลงทดลอง ชวยใหพัฒนาสมการคณิตศาสตร

                  เพื่อคํานวณคาปจจัยความชัน หรือ  S-factor  สําหรับใชในสมการการสูญเสียดินสากลได คาปจจัย
                  ความชัน คือ ตัวเลขแสดงสัดสวนของการสูญเสียดินตอหนวยความชัน เปนความสัมพันธระหวาง

                  ความชันตอการชะลางพังทลายแบบแผน  (sheet  erosion)  และการชะลางพังทลายแบบรองริ้ว

                  (rill erosion)

                         สมการคํานวณคา      S-factor

                             ใชสมการ Wischmeier และ Smith (1978) สําหรับพื้นที่ลาดชัน 0-9 เปอรเซ็นต คือ

                                                        2
                               S   =  (0.43 + 0.30 s + 0.043 s ) / 6.613    หรือเขียนไดอีกอยางหนึ่ง คือ
                                                           2
                               S   =  0.065 + 0.045 s + 0.0065 s
                         ใชสมการแนะนําโดย        Meijerink  (Huizing,  1992)  สําหรับพื้นที่ลาดชันมากกวา 9

                  เปอรเซ็นต คือ

                                      0.75
                               S   =  sin (slope degree) × cos (slope degree) หรือเขียนไดอีกอยางหนึ่ง คือ
                                                      0.75
                               S   =  6.4 (sin{atan (s/100)} ) (cos{atan (s/100)})
                         เมื่อ    S  คือ   คาปจจัยความชัน

                                  s  คือ   เปอรเซ็นตความชัน

                         การคํานวณคาเปอรเซ็นตความชัน     (s)

                         การคํานวณเปอรเซ็นตความชัน หรือ คา    s  เพื่อใชในสมการคํานวณคาปจจัย  S-factor
                  ขางตน มีการนําขอมูลจากแหลงตางๆ มาใช และศึกษาเปรียบเทียบคาความชันที่คํานวณได เพื่อ

                  พิจารณาเลือกแหลงขอมูลที่มีความถูกตองเหมาะสมสําหรับการจัดทําแผนที่การสูญเสียดินมากที่สุด

                  แหลงขอมูลที่นํามาใชมีดังนี้

                         1) แผนที่สภาพภูมิประเทศ กรมแผนที่ทหาร มาตราสวน 1       :50,000 มีเสนชั้นความสูง
                  หางกันชั้นละ 100 และ 20 เมตรตามลําดับ

                         2) แผนที่กลุมชุดดิน มาตราสวน 1  :25,000 กลุมสํารวจจําแนกดิน กรมพัฒนาที่ดิน

                         การคํานวณเปอรเซ็นตความชันจากขอมูลของแผนที่เสนชั้นความสูง    Digital Elevation

                  Model  (DEM)  มาตราสวน 1 :50,000 ใชวิธีเลือกพื้นที่ตัวอยาง มีการวิเคราะหขอมูล ที่ขนาดความ
                  ละเอียดของขอมูล  (Resolution)  เทากับ 5 ×5 เมตร และนําคาเปอรเซ็นตความชันที่คํานวณได

                  จากขอมูลเชิงเลข มาเปรียบเทียบกับคาจากแผนที่กลุมชุดดิน ซึ่งมีการวัดคาเปอรเซ็นตความชัน

                  ดวยแผนวัด (template) และจําแนกชั้นความลาดชันของพื้นที่ดวยสายตา







                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111