Page 102 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 102

74




                               แนวทาง การจัดการ  เลือกพื้นที่ที่มีหนาดินหนาและไมมีเศษหินหรือกอนหิน

                  อยูบริเวณหนาดินมาก ทําเกษตรกรรมแบบวนเกษตรหรือแบบผสมผสาน โดยไมทําลายไมพื้นลาง

                  ขุดหลุม ปลูก พรอมปรับปรุงดินดวยปุยหมักอัตรา 25-50 กิโลกรัมตอหลุม หรือปุยคอกอัตรา 10-20
                  กิโลกรัมตอหลุม รวมกับปุยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก มีระบบอนุรักษดินและน้ํา เชน ใชวัสดุคลุมดิน

                  หรือปลูกหญาแฝก เพื่อรักษาความชื้นและลดการกรอนของดิน พัฒนาแหลงน้ําไวใชในระยะที่

                  ฝนทิ้งชวง นานหรือพืชขาดน้ํา สําหรับในพื้นที่ที่มีหินกระจัดกระจายอยูบนดินมาก ไมเหมาะสม

                  ตอการเกษตร ควรปลอยไวใหเปนปาธรรมชาติเพื่อเปนแหลงตนน้ําลําธาร

                         8.3.3  พื้นที่ลาดชันเชิงซอนหรือพื้นที่ภูเขา

                               พื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต หรือเปนพื้นที่ภูเขา ไดแก กลุมชุดดินที่ 62

                  ซึ่งไมเหมาะสมตอการเกษตรกรรม
                               ขอจํากัดในการใชประโยชนที่ดิน  พื้นที่มีความลาดชันสูงเกิดการชะลางพังทลายและ

                  สูญเสียหนาดินไดงาย

                               แนวทาง การจัดการ  ควรรักษาไวใหเปนปาธรรมชาติ เพื่อเปนที่อยูอาศัยและเปน
                  แหลงเพาะพันธุของสัตวปา รวมถึงเปนแหลงตนน้ําลําธาร


                    8.4   การชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                        การชะลางพังทลายของดิน (soil erosion) ที่เปนปจจัยทางกายภาพอยางหนึ่ง การชะลางพังทลาย

                  ของดินนั้น มีผลใหเกิดความเสื่อมโทรมของดินและผลผลิตทางการเกษตรตกต่ํา นอกจากนี้ ตะกอน

                  ของดินจะไปทับถมในแมน้ําลําธารตางๆ จนทําใหตื้นเขินและความสามารถในการเก็บกักน้ํา  ลดลง

                  ในบริเวณที่มีการชะลางพังทลายสูงไมเหมาะสมในการเพาะปลูกพืชไร  หากจําเปนตองทําการเกษตร
                  ในพื้นที่ดังกลาว ควรจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําใหสอดคลองตามลักษณะและนโยบาย ในพื้นที่

                  อยางเหมาะสม ดังนั้นจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการปองกันการชะลางพังทลายของดิน  เพื่อ

                  รักษาศักยภาพทางดานเกษตรกรรมของทรัพยากรที่ดินตอไป
                         สําหรับการประเมินการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดี   ไดคํานวณ

                  สอดคลองกับสมการการสูญเสียดินสากล หรือ  Universal  Soil  Loss  Equation,  USLE  (Wischmeier

                  and Smith, 1965)  ซึ่งสมการนี้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใชประเมินการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่เกษตร

                  และเปนการชะลางพังทลายของดินที่เกิดจากการกระทําของน้ํา ไมรวมถึงการชะลางพังทลาย
                  ที่เกิดจากลม สมการดังกลาวพิจารณาการชะลางพังทลายของดินจากการตกกระทบของเม็ดฝน

                  (raindrop erosion) และแบบแผน (sheet erosion) ไมครอบคลุมถึงการชะลางพังทลายแบบริ้ว (rill erosion)

                  และแบบรอง (gully  erosion)  (Wischmeier  and  Smith,  1965) ซึ่งปจจัยที่นํามาพิจารณาในสมการนี้







                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107