Page 107 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 107

79




                         ผลการคํานวณคาปจจัย      LS–factor ของหนวยที่ดิน

                         การคํานวณคาปจจัยความลาดเทของพื้นที่ คํานวณจากสมการ

                               L  =     (λ / 22.13) m

                               โดยใชแผนที่หนวยที่ดินเปนฐานในการคํานวณคาปจจัย   LS-factor  คาปจจัยรวม
                  ของ LS-factor ของชั้นความลาดชันตามแผนที่หนวยที่ดิน แสดงไดดังตารางที่ 16



                  ตารางที่ 16 คาปจจัยของความลาดเท คาปจจัยความชันของความลาดเท และคาปจจัยรวม   LS–factor
                            ของชั้นความลาดชันตามแผนที่กลุมชุดดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดี


                       ชั้นความลาดชัน        เปอรเซ็นตความชัน   ความยาวของความลาดเท      คาปจจัยรวม

                     ตามแผนที่กลุมชุดดิน          (คา s)             (คา λ เมตร)         LS–factor

                             A                      1.2                    150                0.226
                             B                      2.0                    150                0.323

                             C                      5.0                    100                0.567

                             D                     12.0                    50                 1.927

                             E                     20.0                    50                 2.753
                      F (กลุมชุดดิน 62)           35.0                    50                 4.571


                  ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2545)


                         8.4.4   ปจจัยที่เกี่ยวของกับการจัดการพืช  (crop  management  factor)  เปนปจจัยที่เกี่ยวของ

                  กับพืชคลุมดินซึ่งพืชแตละชนิดยอมมีความตานทานในการชะลางพังทลายของดินที่แตกตางกัน
                  ขึ้นอยูกับความสูงของตน ลักษณะพุม และการยึดอนุภาคดินของรากพืชนั้นๆ เปนตน ในกรณีที่

                  ไมมีพืชปกคลุมนั้นคาปจจัยที่เกี่ยวของกับการจัดการพืชจะมีคามากในที่นี้คือมีคาเทากับ 1.0 สวน

                  กรณีที่พืชปกคลุมดินสามารถตานทานการชะลางพังทลายของดินไดดีจะใหคาปจจัยนี้นอย นอกจากนี้
                  แลวปจจัยที่เกี่ยวของกับการจัดการพืชนี้ยังมีความสัมพันธกับสภาพภูมิอากาศในพื้นที่นั้นๆ อีกดวย

                  เนื่องจากสภาพภูมิอากาศนั้นมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช

                         8.4.5   ปจจัยที่เกี่ยวของกับการอนุรักษดินและน้ํา  (conservation  factor)  เปนปจจัยที่แสดง
                  ถึงมาตรการอนุรักษดินและน้ําในพื้นที่นั้นๆ เชน การปลูกพืชตามแนวระดับ (contouring) การปลูกพืช

                  สลับขวางความลาดเอียง (strip  cropping)  การทําคันนา (bunding)  เปนตน ในที่นี้ใชคาตามการศึกษา

                  ของกรมพัฒนาที่ดิน (2545)








                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112