Page 104 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 104

76




                  ตารางที่ 15  คาปจจัยที่เกี่ยวของกับลักษณะของดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองจันดี


                                 คาปจจัยที่เกี่ยวของกับ                        คาปจจัยที่เกี่ยวของกับ
                   กลุมชุดดิน                                     กลุมชุดดิน
                                    ลักษณะของดิน                                     ลักษณะของดิน

                       5                 0.14                          39                 0.20
                       6                 0.31                          45                 0.33

                       17                0.30                          50                 0.20

                       26                0.33                          51                 0.20

                       32                0.33                          53                 0.33
                       34                0.20


                  ที่มา  :  กรมพัฒนาที่ดิน (2545)


                         8.4.3   ปจจัยที่เกี่ยวของกับสภาพภูมิประเทศ (slope length and slope steepness factor) เปนปจจัย

                  ที่เกี่ยวของกับความลาดชันและความยาวของความลาดชัน ตามปกติแลวคาการชะลางพังทลายของดิน

                  นั้นจะแปรผันตรงกับความลาดชันและความยาวของความลาดชัน  ในการศึกษานี้ไดใชขอมูลความสูง
                  จากแบบจําลองระดับความสูงเชิงเลข ( Digital  Elevation  Model,  DEM)  โดยคํานวณทั้งสองปจจัย

                  สอดคลองกับการศึกษาของ Hickey และคณะ (1994)


                         การประเมินคาปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของในสมการการสูญเสียดินสากล มีดังตอไปนี้
                                L   =     (λ / 22.13) m

                                L    คือคาปจจัยความยาวของความลาดเท ในสมการการสูญเสียดินสากล

                               λ    คือระยะทางตามแนวราบของพื้นที่ลาดชัน นับจากจุดเริ่มมีน้ําไหลเออผิวดิน
                  ถึงจุดที่ ความลาดชันเปลี่ยนลดลงจนเกิดการทับถมของตะกอน หรือจุดที่มีการรวมตัวของน้ําเปนรอง

                  มีหนวยเปนเมตร ซึ่งควรมีระยะทางไมเกิน 400 ฟุต (ประมาณ 120 เมตร) หรือถาพื้นที่นั้นใชรถไถพรวน

                  เปนรองยาว คานี้อาจยาวไดถึง 1,000 ฟุต (ประมาณ 300 เมตร)

                         22.13 คือความยาวของแปลงทดลองมาตรฐาน หนวยเปนเมตร
                               m     คือตัวเลขยกกําลังซึ่งผันแปรตามความลาดชัน มีความสัมพันธกับสัดสวน

                  ระหวางการชะลางพังทลายแบบรองริ้ว (rill  erosion)  ซึ่งเกิดจากการกระทําของน้ําไหลบากับการชะลาง

                  พังทลายระหวางรองริ้ว (interrill erosion) ซึ่งเกิดจากการกระทําของเม็ดฝน










                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109