Page 105 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 105

77




                         การคํานวณคา      L อางอิงตามกรมพัฒนาที่ดิน 2545


                                            0.2
                               L =  (λ / 22.13)     สําหรับพื้นที่ลาดชัน        0-1.0    เปอรเซ็นต
                                            0.3
                               L =  (λ / 22.13)     สําหรับพื้นที่ลาดชัน        1.1-3.0  เปอรเซ็นต
                                            0.4
                               L =  (λ / 22.13)     สําหรับพื้นที่ลาดชัน        3.1-5.0  เปอรเซ็นต
                                            0.5
                               L =  (λ / 22.13)     สําหรับพื้นที่ลาดชัน       5.1-21.0  เปอรเซ็นต
                               L =  (λ / 22.13)     สําหรับพื้นที่ลาดชันมากกวา   21.0   เปอรเซ็นต
                                            0.7

                         วิธีวัดคาความหมายของความลาดเท (     λ)

                         การคํานวณคาความหมายของความลาดเท หรือ คา           λ  เพื่อใชในสมการคํานวณ
                  คาปจจัยความยาวของความลาดเท  (L)  ขางตน มีการนําขอมูลจากแหลงตางๆ มาใช และศึกษา

                  เปรียบเทียบคา ความยาวของความลาดเทที่คํานวณได เพื่อเลือกแหลงขอมูลที่มีความถูกตองเหมาะสม

                  สําหรับคํานวณคาการสูญเสียดินมากที่สุด
                         การคํานวณคาความยาวของความลาดเทจากแผนที่เสนชั้นความสูง ดวยระบบ

                  สารสนเทศภูมิศาสตรในขั้นตนมีการวิเคราะหขอมูลโดยใชแบบจําลองเสนชั้นความสูงเชิงเลข

                  DEM  (Digital  Elevation  Model)  กําหนดขนาดหนวยของพื้นที่ที่เล็กที่สุด  (pixel)  เปน 5×5  เมตร

                  (หมายถึง มีการวิเคราะหและคํานวณคาความสูงทุกระยะ 5  ×5 เมตรของพื้นที่) จากนั้นจึง คํานวณ
                  คาเปอรเซ็นตความชัน  (slope  steepness)  ทิศทางความลาดชัน (slope  aspect)  รูปรางของความชัน

                  (slope form) จาก DEM และคํานวณคาความยาวของความลาดเทในแนวราบ โดยเริ่มตั้งแตตําแหนง

                  ที่เปอรเซ็นตความชันเปลี่ยน นับคาสะสมของ   pixel  ที่มีเปอรเซ็นตความชันและทิศทางความ
                  ลาดชันอยูในกลุมเดียวกันจนกระทั่งถึง  pixel สุดทายกอนตําแหนงที่มีเปอรเซ็นตความชันเปลี่ยน

                  หรือความลาดชันมีรูปรางโคงเวา (concave) ซึ่งแสดงวาเปนพื้นที่มีการทับถมตะกอน

                         การคํานวณคาความยาวของความลาดเทจากรูปถายทางอากาศ ใชวิธีเลือกพื้นที่ตัวอยาง

                  จากแผนที่หนวยที่ดิน มาตราสวน 1 :50,000 ซึ่งจําแนกความลาดชันออกเปน 6 ชั้น คือ 0-2  2-5  5-12
                  12-20 20-35 และตั้งแต 35 เปอรเซ็นตขึ้นไป ศึกษาสภาพพื้นที่บนรูปถายทางอากาศในพื้นที่ตัวอยาง

                  ของความลาดชันแตละชั้นดวยกลองมองภาพ 3 มิติ กําหนดจุดวัดความยาวของความลาดเท

                  โดยพิจารณาความชัน การใชที่ดินและรูปรางของแปลง วัดความยาวของความลาดเทดวยไมบรรทัด
                  นํามาคํานวณระยะทางจริง และหาคาเฉลี่ยเพื่อใชเปนคาตัวแทนของความลาดชันแตละชั้น


                         ความชัน       (Slope gradient)
                               McCool  et  al.  (USDA, 1997)  อธิบายวา ความชันของพื้นที่สามารถตรวจวัดได

                  ในสนามดวยเครื่องมือวัดความลาดเอียง เชน เครื่อง   Abney  ขอมูลแผนที่เสนชั้นความสูง ที่มี






                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110