Page 109 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 109

81




                  ตารางที่ 17 (ตอ)


                                                      คาปจจัยที่เกี่ยวของกับ    ปจจัยที่เกี่ยวของกับ
                         ประเภทการใชที่ดิน
                                                         การจัดการพืช              การอนุรักษดินและน้ํา

                     สถานที่ราชการและสถาบันตางๆ            0.000                         0.0

                     หมูบาน                               0.000                         0.0
                     เหมืองเกา บอขุดเกา                   0.00                         0.0

                     เหมืองแร                               0.80                         1.0

                     อางเก็บน้ํา                            0.00                         0.0

                  ที่มา  :  กรมพัฒนาที่ดิน (2545)


                         ในการหาคาอัตราการชะลางพังทลายของดินและการทําแผนที่ระดับการสูญเสียดิน

                  ใชวิธีซอนทับแผนที่หนวยที่ดิน แผนที่สภาพการใชที่ดินและเสนระดับปริมาณน้ําฝนรายปเฉลี่ย ซึ่ง
                  จะทราบวาคาปจจัยการสูญเสียดินในแตละพื้นที่ เพื่อคํานวณหาคาอัตราการชะลางพังทลายของดิน

                  และทําแผนที่ระดับการสูญเสีย ซึ่งในการหาคาอัตราการชะลางพังทลายของดินและการทํา

                  แผนที่ ใช โปรแกรมคอมพิวเตอร  ArcGIS  ชวยในการจัดทําโดยมีแผนที่มาตราสวน 1 :25,000  เปน

                  ฐานในการจัดทําแผนที่ตางๆ เชน แผนที่สภาพการใชที่ดิน หนวยที่ดิน และระดับการสูญเสียดิน
                               การจัดชั้นความรุนแรงของการชะลางพังทลายของดิน

                               การสูญเสียดินที่จะสงผลกระทบเสียหายรุนแรงหรือไม ขึ้นกับลักษณะของดินใน

                  แตละพื้นที่ หากกระบวนการผลิตดินเปนไปอยางรวดเร็ว และดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติสูง
                  แมจะมีอัตราการสูญเสียดินสูงก็อาจไมมีผลกระทบตอการใชที่ดิน ตรงกันขามถาดินมีความ

                  อุดมสมบูรณต่ํา และกระบวนการเกิดดินเปนไปอยางชาๆ แมมีการสูญเสียดินเพียงเล็กนอยก็อาจเกิด

                  ผลกระทบเสียหายรุนแรงตอการใชประโยชนที่ดินนั้น คาการสูญเสียดินเมื่อนํามาเปรียบเทียบกับ

                  ลักษณะตามธรรมชาติ ของดินยอมสามารถวิเคราะหความเสียหายจากการชะลางพังทลายของดินได
                               คาการสูญเสียดินที่คํานวณไดจากสมการการสูญเสียดินสากล นํามาจัดชั้นความรุนแรง

                  ของการสูญเสียดิน และแสดงผลออกมาเปนแผนที่การชะลางพังทลายของดิน โดยมีจุดมุงหมาย

                  เพื่อใหทราบถึงขอบเขตของพื้นที่ที่มีปญหาการชะลางพังทลาย และระดับความรุนแรงของปญหา
                  ที่เกิดขึ้น เพื่อจะไดเปนแนวทางในการวางแผนอนุรักษดินและน้ําตอไป

                               การจัดชั้นความรุนแรงของการชะลางพังทลายของดินยึดถือตามแนวคิดวาปริมาณการ

                  สูญเสียดินสูงสุดที่ยอมรับไดสําหรับดินในประเทศไทยเปน  2 ตันตอไรตอป การจัดชั้นความรุนแรง
                  ของการพังทลายของดินยึดถือตามแนวคิดวาตอปหรือเทียบเทา   0.96 มิลลิเมตรตอป การสูญเสีย







                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114