Page 101 - การวิเคราะห์ทรัพยากรธรรมชาติและการกำหนดบริเวณการใช้ที่ดินตามศักยภาพพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาคลองจันดี (รหัส2202)
P. 101

73




                               ความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช ดินกลุมนี้เหมาะสําหรับการปลูกไมผล ปาลมน้ํามัน

                  และยางพารา รวมทั้งสามารถพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวไดดวย แตมีขอจํากัดเล็กนอยเนื่องจาก

                  เนื้อดินคอนขางเปนทรายจึงมีความอุดมสมบูรณต่ํา และเกิดการชะลางสูญเสียหนาดินไดงายในพื้นที่
                  ลาดชัน  และดินกลุมนี้ไมเหมาะสําหรับการทํานา เนื่องจากสภาพพื้นที่ไมราบเรียบ ดินมีการ

                  ระบายน้ําดี จึงยากตอการกักเก็บน้ํา

                               แนวทาง การจัดการ  การใชประโยชนของพืชบริเวณนี้ คือ การเลือกชนิดพืชที่มี

                  ศักยภาพเหมาะสมมาปลูก มีการปรับปรุงบํารุงดินรวมกับมีระบบการอนุรักษดินและน้ํา เชน ในกรณีที่
                  ปลูกขาว ควรไถกลบตอซังปลอยทิ้งไว  3-4 สัปดาห หรือไถกลบพืชปุยสด (โสนอัฟริกัน หรือโสน

                  อินเดีย 3-5 กิโลกรัมตอไร ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปลอยทิ้งไว 1-2 สัปดาห) รวมกับการใชปุยอินทรียน้ํา

                  หรือปุยเคมีสูตร 16-16-8  ใสปุยแตงหนาหลังปกดํา  35-45  วัน พัฒนาแหลงน้ําไวใชในชวงที่ขาว
                  ขาดแคลนน้ํา หรือใชปลูกขาวครั้งที่ 2 หรือปลูกพืชไร พืชผัก หรือพืชตระกูลถั่วหลังการเก็บเกี่ยวขาว

                  โดยทํารองแบบเตี้ย ปรับปรุงดินดวยปุยหมักหรือปุยคอก 2-3 ตันตอไร รวมกับปุยเคมีหรือปุยอินทรียน้ํา

                  ในกรณีปลูกพืชไร พืชผัก หรือไมผล ควรยกรองกวาง  6-8 เมตร คูน้ํากวาง 1.0-1.5 เมตร และมีคันดิน

                  อัดแนนลอมรอบ ปรับปรุงดินดวยปุยหมักหรือปุยคอก  2-3  ตันตอไร รวมกับการใชปุยอินทรียน้ํา
                  หรือปุยเคมี หรือขุดหลุมปลูกขนาด 50x50x50  เซนติเมตร ปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอก

                  20-35 กิโลกรัมตอหลุม ในชวงเจริญเติบโต กอนเก็บผลผลิตและภายหลังเก็บผลผลิต ใชปุยหมักหรือ

                  ปุยคอกรวมกับปุยอินทรียน้ําหรือปุยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก พัฒนาแหลงน้ําชลประทาน   และ
                  จัดระบบการใหน้ําใน แปลงปลูก


                         8.3.2  ดินตื้น
                               ดินตื้นในพื้นที่ดอน ไดแก กลุมชุดดินที่ 45  และกลุมชุดดินที่ 51 ทุกความลาดชัน พบใน

                  พื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนชัน เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย ดินลางเปนดินรวน

                  เหนียวปนกอนกรวดมาก

                               ขอจํากัดในการใชประโยชนที่ดิน   ดินตื้นถึงชั้นลูกรังมีเศษหิน กอนหินปะปนอยู
                  ในเนื้อดินตั้งแตรอยละ 35 โดยปริมาตรหรือมากกวา ภายในความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดิน หรือ

                  มีชั้นหินพื้นตื้นกวา 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ดินตื้นจะเปนอุปสรรคตอการชอนไชของรากพืช

                  ลงไปหาอาหาร นอกจากนี้ยังมีสวนที่เปนดินนอย  ทําใหมีความสามารถในการดูดซับธาตุอาหาร และ
                  อุมน้ําต่ํามาก พืชจะขาดน้ําทําใหเหี่ยวเฉาไวกวาพื้นที่อื่น

                               ความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช ดินกลุมนี้เหมาะสมนอยสําหรับการปลูกพืชไร หรือ

                  ไมผลทั่วไป เนื่องจากดินมีชั้นกอนกรวดหรือชั้นลูกรังภายในความลึก 50 เซนติเมตร ซึ่งจะขัดขวาง

                  การเจริญเติบโตของรากพืช แตอาจใชปลูกยางพารา และพัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวได





                                                                   สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106