Page 45 - ผลสำเร็จของแผนการใช้ที่ดินระดับตำบลแบบบูรณาการในพื้นที่ ตำบลผักไหม อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
P. 45

30


                     ร่วมในการพัฒนาซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงในทางสร้างสรรค์  หากมองย้อนไปในอดีต  จะเห็นว่ารัฐเป็นกลไก

                     ส าคัญในการพัฒนาที่จะน าพาชีวิตของประชาชนไปยังจุดหมายปลายทางของรัฐต้องการ  ซึ่งอาจไม่ใช่ความ

                     ต้องการของประชาชนผลจากการพัฒนาส่วนใหญ่มักจะตกอยู่กับกลุ่ม ผู้ท านาส่วนใหญ่หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
                     และท าให้ประชาชนรู้สึกว่ากิจกรรมหรือสิ่งต่างๆ ที่ท าไปเป็นจ านวนมากเป็น เรื่องของรัฐหรือเป็นเรื่องของผู้น า

                     “ไม่ใช่เรื่องของประชาชน” ประชาชนจึงไม่ให้ความสนใจหรือเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนามากนัก นอกจากนี้

                     ผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศที่รวดเร็วและเข้าถึงประชาชนอย่างกว้างขวางเท่าเทียมในทุก

                     ระดับประกอบ พ.ร.บ.กระจายอ านาจฯ ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม กิจกรรมต่างๆ ของชุมชนมาก
                     ขึ้น ส่งผลให้การทางานพัฒนาต้องปรับยืดหยุ่นให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของ  ประชาชน โดย

                     ค านึงความแตกต่างหลากหลายที่ต้องใช้รูปแบบ  วิธีการที่สอดคล้องเหมาะสมเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน

                     มีการบูรณาการงาน มีการติดต่อสื่อสารในลักษณะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันอย่างเสมอภาค เข้าถึงและรับรู้
                     ข้อมูลข่าวสารอย่างเท่าเทียมกัน และเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจกรรม ร่วมกันก ากับดูแลกิจกรรมเหล่านั้น ให้

                     เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ร่วมกันก าหนดไว้  ก ากับดูแลงบประมาณของรัฐที่มาจากภาษีของ

                     ประชาชน มีผลประโยชน์ร่วมกัน เพื่อสร้างพลังการท างานร่วมกันอย่างมีวิสัยทัศน์ กระบวนการแผนชุมชน

                     เป็นเครื่องมือส าคัญที่จะต้องน ามาใช้ในการพัฒนาสังคมของชุมชนให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน
                     ตลอดเวลา เพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ภายใต้วิสัยทัศน์และงบประมาณของประชาชน

                     เพื่อให้เป็นชุมชนที่สมานฉันท์ได้อย่างแท้จริง และเข้มแข็งได้อย่างยั่งยืนตลอดไป

                                 การน าแผนไปปฎิบัติ เพื่อน าไปสู่การบูรณาการ ของหน่วยงานภาครัฐ ระดับความส าเร็จ
                     ในการจัดท าแผนการใช้ที่ดินระดับต าบลแบบบูรณาการ  หมายถึง กระบวนการน าฐานข้อมูลด้าน

                     ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านเศรษฐกิจและสังคม และนโยบายการใช้ที่ดินของรัฐมาจัดท าแผนการใช้ที่ดินระดับ

                     ต าบล โดยกรมพัฒนาที่ดินเป็นหน่วยงานหลักในการบูรณาการกิจกรรมของหน่วยงานราชการในกระทรวง
                     เกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันแก้ปัญหาให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตาม

                     แผนการใช้ที่ดิน  ซึ่งจะท าให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินตามความเหมาะสมของศักยภาพที่ดิน สอดคล้องตาม

                     สภาพเศรษฐกิจและสังคม และความต้องการของท้องถิ่น โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนด้วยการ
                     จัดประชุมชี้แจงเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่  และจะน าไปสู่การ

                     ลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหว่างส่วนราชการ อาทิ องค์การบริหารส่วนต าบลกับกรม

                     พัฒนาที่ดิน เพื่อด าเนินกิจกรรมในพื้นที่ตามแผนการใช้ที่ดินระดับต าบลแบบบูรณาการต่อไป

                                3.3.1 ลักษณะการบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐในการใช้แผนการใช้ที่ดินระดับต าบล
                     แบบบูรณาการ ประกอบด้วย

                                     1) การบูรณาการระหว่างหน่วยงานภายในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับ

                     องค์การบริหารส่วนต าบลผักไหม หมายถึง การปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานภายในกระทรวง
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50