Page 47 - ผลสำเร็จของแผนการใช้ที่ดินระดับตำบลแบบบูรณาการในพื้นที่ ตำบลผักไหม อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
P. 47

32


                                ศุภกนิตย์ (2540)  ได้กล่าวถึงการวัดความรู้ว่า การวัดความรู้เป็นการวัดระดับความจ า

                     ความสามารถในความคิด เข้าใจกับข้อเท็จจริงที่ได้รับการศึกษา และประสบการณ์เดิม โดยผ่านการ

                     ทดสอบคุณภาพแล้ว จะแยกคนที่มีความรู้กับไม่มีความรู้ออกจากกันได้ระดับหนึ่ง
                                เกษม (2544)  ได้ให้ความหมายของความรู้ว่า หมายถึง การรวบรวมความคิดของมนุษย์

                     จัดให้เป็นหมวดหมู่และประมวลสาระที่สอดคล้องกัน โดยน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ดังนั้นสิ่งที่เป็น

                     สาระที่สอดคล้องกัน โดยน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ดังนั้นสิ่งที่เป็นสาระในระบบข้อมูลข่าวสาร

                                จากค าจ ากัดความที่มีผู้กล่าวไว้ในเบื้องต้น สามารถสรุปได้ว่า ความรู้ หมายถึงข้อเท็จจริง
                     กฎเกณฑ์ และรายละเอียดของเรื่องราวและการกระท าต่าง ๆ ที่บุคคลได้ประสบมาและเก็บสะสมไว้

                     เป็นความจ าที่สามารถถ่ายทอดต่อ ๆ ไปได้และสามารถวัดความรู้ได้โดยการระลึกถึงเรื่องเหล่านั้น

                     แล้วแสดงออกมา
                                ระดับของความรู้  ความรู้มีอยู่มากมายรอบ ๆ ตัวเรา และสามารถจัดแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ

                                ระดับแรก  ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา ซึ่งสามารถรับรู้ได้โดยประสาทสัมผัส มองเห็น

                     ได้ยิน ดมกลิ่น และลิ้มรสได้ เช่น ความร้อน - เย็น  ความสว่าง - มืด เสียง ดัง-เบา กลิ่นหอม-เหม็นและ
                     รสเค็ม-หวาน เป็นต้น ความรู้ระดับต้นนี้อาจเรียกว่า ความรู้สึก

                                ระดับที่สอง ได้แก่  ความรู้ด้านภาษา ซึ่งจะท าให้อ่านและเขียนหนังสือได้  ฟังเข้าใจ  ฟัง

                     วิทยุและดูทีวีรู้เรื่อง ตลอดจนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ได้สะสมและตกทอดกันมา

                                ระดับที่สาม ได้แก่ ความรู้ด้านวิชาการ ซึ่งได้จากการศึกษาเล่าเรียน ท าให้คิดเลขเป็น ค านวณ
                     ดอกเบี้ยได้  ออกแบบอาคารได้ เขียนบทละครได้ ใช้คอมพิวเตอร์เป็น รู้กฎหมายบ้านเมือง รู้จักกฏเกณฑ์

                     ทางฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ เคมี และชีววิทยา วินิจฉัยโรคและรู้วิธีรักษาโรค เป็นต้น ความรู้วิชาการเหล่านี้

                     มักจะต้องเรียนรู้จากครู อาจารย์  เอกสาร ต าราทางวิชาการหรือผู้ที่รู้เรื่องนั้นมาก่อน
                                ระดับที่สี่ ได้แก่ ความรู้ใหม่  เป็นความรู้ที่ไม่เคยมีอยู่ก่อน ได้มาโดยการค้นคว้าวิจัย  การ

                     คิดค้นกระบวนการใหม่ และควรจะหาแนวทางในการน าความรู้ใหม่ไปใช้ให้เป็นประโยชน์เพื่อให้

                     เกิดการพัฒนา
                                การวัดความรู้ การวัดความรู้เป็นการวัดความสามารถในการระลึกเรื่องราวข้อเท็จจริง หรือประสบการณ์

                     ต่าง ๆ หรือเป็นการวัดการระลึกประสบการณ์เดิมที่บุคคลได้รับค าสอน การบอกกล่าว การฝึกฝนของผู้สอน รวมทั้ง

                     จากต าราจากสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ด้วยค าถามวัดความรู้ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ไพศาล  (2526)  คือ

                                1)  ถามความรู้ในเนื้อเรื่องเป็นการถามรายละเอียดของเนื้อหาข้อเท็จจริงต่างๆของเรื่องราว
                     ทั้งหลายประกอบด้วยค าถามประเภทต่าง ๆ เช่น ค าศัพท์ หรือรายละเอียดของเนื้อหาต่าง ๆ

                                2) ถามความรู้ในวิธีการด าเนินการ เป็นการถามวิธีการปฏิบัติต่าง ๆ ตามแบบแผน

                     ประเพณี ขั้นตอนของการปฏิบัติงานทั้งหลาย  เช่นถามระเบียบแบบแผน  ล าดับขั้น  แนวโน้มการจัด

                     ประเภทและหลักเกณฑ์ต่าง ๆ
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52