Page 28 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน : กรณีศึกษาการปลูกข้าวโพดหวาน บ้านท่าพยอม ตำบลหนองไผ่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
P. 28
16
1) ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน ปกติไม่ค่อยมีปัญหา ในพื้นที่ท าการเกษตรติดต่อการมา
เป็นเวลาอาจพบชั้นดานแน่นที่เกิดการเกตรกรรมโดยไม่มีการปรับปรุบบ ารุงดิน บางพื้นที่อาจเสี่ยงต่อการ
ถูกน้ าท่วมในฤดูน้ าหลาก
2) การจัดการกลุ่มชุดดินที่ 33
2.1) ปลูกข้าวหรือท านา
(1) ปัญหาดินขาดธาตุอาหารพืชบางอย่างหรือมีแต่ไม่เพียงพอ ใส่ปุ๋ยอินทรีย์
ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักอัตรา 1.5-2.0 ตันต่อไร่ ใส่ระยะการไถเตรียมดินก่อนปักด าข้าวหรืออาจจะมีการ
ปลูกพืชตระกูลถั่วพวกปอเทือง โสนอัฟริกาฯ เพื่อเป็นปุ๋ยพืชสด โดยใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ 5 กิโลกรัมต่อไร่
หว่านก่อนถึงฤดูท านาประมาณ 2-3 เดือน แล้วจึงไถกลบ การใส่ปุ๋ยเคมีควรใส่ 2 ครั้ง ครั้งแรกใส่ก่อนปักด า
1 วัน หรือใส่วันปักด าแล้วคราดกลบโดยใช้ปุ๋ย 16-20-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ ส าหรับข้าว
พันธุ์ไวต่อช่วงแสง และอัตรา 35 กิโลกรัมต่อไร่ ส าหรับข้าวพันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง ครั้งที่สองใส่ก่อนระยะข้าว
ออกดอกประมาณ 30 วัน หรือหลังจากปักด าแล้วประมาณ 30-45 วัน โดยหว่านให้ทั่วแปลงเป็นการใส่ปุ๋ย
แต่งหน้าด้วยปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟตอัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่ หรือปุ๋ยยูเรียอัตรา 6 กิโลกรัมต่อไร่ ส าหรับข้าว
พันธุ์ไวต่อแสง หรือใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟตอัตรา 13 กิโลกรัมต่อไร่ ส าหรับข้าวพันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง
2.2) ปลูกพืชไร่
(1) ปัญหาการระบายน้ าของดินเลว การเตรียมพื้นที่เพาะปลูกในกรณีปลูก
พืชไร่ในช่วงฤดูแล้งหรือหลังการเก็บเกี่ยวข้าวควรด าเนินการดังต่อไปนี้ ให้ท าร่องระบายน้ ารอบกระทงนา
และท าร่องระบายในกระทงนาในกรณีที่กระทงนาใหญ่ซึ่งห่างกันประมาณ 15-20 เมตร และร่องมีความ
กว้าง 40-50 เซนติเมตร ลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร ซึ่งร่องที่กล่าวนี้จะช่วยระบายน้ าผิวดินและสะดวก
ในการให้น้ าและเข้าไปดูแลพืชที่ปลูก
(2) ปัญหาดินขาดธาตุอาหารพืชบางอย่างและดินค่อนข้างไม่ร่วนซุย เช่น
(2.1) พืชตระกูลถั่ว ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ใช้ปุ๋ยอินทรีย์เช่นปุ๋ยคอก
หรือปุ๋ยหมักอัตรา 1-2 ตันต่อไร่ หว่านให้ทั่วแปลงแล้วไถกลบก่อนปลูก 7-14 วัน ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 0-20-0
อัตรา 30-40 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตรอื่นที่มีธาตุอาหารพืชเท่าเทียมกัน ใส่รองก้นร่องปลูกหรือโรยสองข้าง
แถวปลูกแล้วพรวนดินกลบเมื่อถั่วอายุได้ 20-25 วัน
(2.2) ข้าวโพดและข้าวฟ่าง ใส่ปุ๋ยเคมีปฏิบัติเช่นเดียวกับกลุ่มชุดดินที่ 4
2.3) ปลูกไม้ผล
เตรียมหลุมปลูกขนาด 50x50x50 เซนติเมตร คลุกเคล้าด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
25-30 กิโลกรัมต่อหลุม
(1) ปัญหาดินขาดธาตุอาหารพืชบางอย่างหรือมีแต่ไม่เพียงพอ เช่น
(1.1) ล าใย พันธุ์ที่แนะน า ได้แก่ อีดอ สีชมพู แห้ว เบี้ยวเขียว เมื่อต้น
ล าใยเริ่มให้ผลควรงดการให้น้ า ช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคมควรท าความสะอาดบริเวณโคนต้น
ถากหญ้าและเก็บกวาดใบที่ร่วงออกเพื่อให้หน้าดินแห้ง เดือนกุมภาพันธ์ล าใยแทงช่อดอกเริ่มให้น้ าโดย
ค่อยๆ เพิ่มปริมาณจนถึงปกติ เดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายนควรมีการให้น้ าอย่างสม่ าเสมอ ใส่ปุ๋ยบ ารุงผล
สูตร 12-12-17-2 หรือปุ๋ยสูตรเสมอในอัตราครึ่งหนึ่งของอายุต้นและควรมีการค้ ายันกิ่งและฉีดสารเคมี
ป้องกันโรคและแมลงด้วย ช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนสิงหาคมควรมีการลดการให้น้ าลงก่อนเก็บเกี่ยว
ผลผลิต ช่วงเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายนควรมีการตัดแต่งกิ่งฉีดยาป้องกันโรคแมลงและใส่ปุ๋ยบ ารุง
ต้น สูตร 15-15-15 อัตราครึ่งหนึ่งของอายุต้น ร่วมกับการใส่ปุ๋ยคอกในอัตราเท่ากับอายุของต้น