Page 33 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน : กรณีศึกษาการปลูกข้าวโพดหวาน บ้านท่าพยอม ตำบลหนองไผ่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
P. 33

21


                         2.4.6 กลุ่มชุดดินที่ 62
                         พื้นที่บริเวณนี้มีความลาดชันมากกว่า 35  เปอร์เซ็นต์ ปัจจุบันยังไม่มีการส ารวจและจ าแนกดิน

                  ลักษณะและสมบัติดินขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่และชนิดของวัตถุต้นก าเนิดดิน โดยทั่วไปประกอบด้วยดินตื้น
                  มากถึงลึกมาก มีเนื้อดินเป็นดินร่วนถึงเป็นดินเหนียว หรือมีเศษหิน ก้อนหินปะปนอยู่ในชั้นดินมากหรือพบ
                  กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปบนผิวดิน การระบายน้ าดีหรือมากเกินไป และพืชพรรณธรรมชาติเป็นป่า มีปริมาณ
                  อินทรียวัตถุ ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก มีค่าอิ่มตัวเบส ความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัส และ

                  ความเป็นประโยชน์ของโพแทสเซียม ไม่แน่นอน เนื่องจากมีปัจจัยการเกิดดินในแต่ละพื้นที่แตกต่างกันมาก
                  และไม่ยังมีการศึกษาดินและจ าแนกขอบเขตดินในพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์
                                1)  ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูงท าให้เป็นอุปสรรคต่อการ
                  เกษตรกรรม ยากต่อการจัดการดูแลรักษา เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินอย่างรุนแรงและ

                  ท าลายระบบนิเวศวิทยาของสิ่งแวดล้อมและป่าไม้ จึงควรมีการศึกษาดินก่อนและท าการเกษตรแบบวน
                  เกษตร เพื่อรักษาระบบนิเวศของป่าไม้ไม่ให้เสื่อมโทรม
                                2) การจัดการกลุ่มชุดดินที่ 62
                                ป้องกันการบุกรุกท าลายป่า ถ้ามีการบุกรุกท าลายป่า ควรเร่งรัดการปลูกป่าทดแทนและ

                  บ ารุงรักษาป่าธรรมชาติที่มีอยู่ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นและการจัดการควรเน้นเรื่องต่อไปนี้
                                        2.1)  การอนุรักษ์ดินและน้ า  เป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่ง เพราะการชะล้างพังทลาย
                  ของดินเกิดขึ้นในระดับรุนแรงปานกลางถึงรุนแรง ถ้าน ามาใช้ในการเพาะปลูกโดยมิได้น ามาตรการอนุรักษ์

                  ดินและน้ าที่เหมาะสมมาปฏิบัติ มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่จะน ามาใช้ในพื้นที่ส่วนนี้ควรเป็นทั้งมาตรการ
                  ด้านพืชหรือมาตรการทางด้านเกษตรกรรมและมาตรการด้านวิศวกรรม มาตรการทางเกษตรกรรมที่จะ
                  น ามาใช้มีหลายอย่าง เช่น การใช้ปุ๋ยพืชสดและพืชคลุมดิน การใช้เศษพืชคลุมดิน การเตรียมดินระบบ
                  อนุรักษ์ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ การปลูกพืชเป็นแถบตามแนวระดับและการปลูกพืช
                  หมุนเวียน การสร้างสิ่งกีดขวางตามแนวระดับ (คันซากพืชแถบหญ้า แถบไม้พุ่มตระกูลถั่ว)  การใส่ปุ๋ยและ

                  ปรับปรุงคุณสมบัติของดิน และการใช้ที่ดินแบบวนเกษตร ส่วนมาตรการทางวิศวกรรม ที่ควรน ามาปฏิบัติ
                  ได้แก่ คูรับน้ าขอบเขา ขั้นบันไดดิน และการท าบ่อดักตะกอน เป็นต้น การที่จะเลือกมาตรการอนุรักษ์ดิน
                  และน้ ามาปฏิบัติในไร่นานั้นจะขึ้นอยู่กับชนิดของดิน สภาพพื้นที่หรือความลาดเทและสภาพเศรษฐกิจสังคม

                  ของเกษตรกร บางพื้นที่อาจจ าเป็นต้องน ามาตรการมากกว่าหนึ่งมาตรการมาผสมผสานกันทั้งมาตรการทาง
                  เกษตรกรรมและวิศวกรรม
                                        2.2) การพัฒนาแหล่งน้ า เป็นสิ่งจ าเป็นเพื่อให้มีน้ าในการเพาะปลูก รักษาความ
                  ชุ่มชื้นของพื้นที่และยังเป็นส่วนช่วยในการดักตะกอนดินไม่ให้ถูกพัดมาลงมาทับถมในพื้นที่ราบ

                                        2.3) การจัดการดินและปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน เนื่องจากดินที่จัด
                  อยู่ในกลุ่มชุดดินนี้มีดินหลายชนิดปะปนกัน มีคุณสมบัติและลักษณะที่แตกต่างกันมาก และพบในภูมิอากาศ
                  ที่ค่อนข้างแตกต่างกันด้วย การจัดการจะขึ้นอยู่กับดินแต่ละชนิดหรือแต่ละชุด จ าเป็นจะต้องมีการ
                  ตรวจสอบชนิดของดินก่อนที่จะน ามาตรการต่างๆ มาปฏิบัติ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38