Page 26 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน : กรณีศึกษาการปลูกข้าวโพดหวาน บ้านท่าพยอม ตำบลหนองไผ่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
P. 26

14


                  2.4 ทรัพยากรดิน
                         สถานภาพของทรัพยากรดินในปัจจุบันที่ใช้ในการเกษตรของพื้นที่ต าบลหนองไผ่ อ าเภอด่าน

                  มะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
                         2.4.1 กลุ่มชุดดินที่ 31
                         เนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว ดินมีสีน้ าตาลเหลือง แดง เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินหลายชนิด
                  พบบริเวณพื้นที่ดินที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงลอนชัน มีความลาดชัน ประมาณ 3-20เปอร์เซ็นต์ เป็นดินลึก

                  มีการระบายน้ าดีปานกลางถึงดี ระดับน้ าใต้ดินอยู่ลึกกว่า 1  เมตร ในฤดูฝนมีความอุดมสมบูรณ์ตาม
                  ธรรมชาติปานกลาง pH  5.5-6.5  ได้แก่ ชุดดินเลย ชุดดินวังไห ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกพืชไร่
                  ไม้ผลต่างๆ มีส่วนน้อยที่ยังคงสภาพป่าธรรมชาติ
                                1) ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน น้ าซึมผ่านชั้นดินปานกลางถึงช้า ดินอุ้มน้ าปานกลาง

                  ถึงสูง มีการพังทลายของดินในบริเวณที่มีความลาดชันน้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ระดับน้ าใต้ดินต่ ามาก
                                2) ความเหมาะสมส าหรับการปลูกพืช กลุ่มชุดดินที่ 31 มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูก
                  พืชไร่และไม้ผลหลายชนิด แต่ไม่เหมาะสมที่จะน ามาใช้ในการท านา เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอน
                  ลาดถึงเป็นเนินเขา ยากในการที่จะเก็บกักน้ าไว้ปลูกข้าว

                                3) การจัดการกลุ่มชุดดินที่ 31
                                        1.1) ปลูกพืชไร่
                                             (1)  ปัญหาการชะล้างพังทลายของหน้าดินและปัญหาดินขาดแคลนน้ าใน

                  การเพาะปลูกในบางช่วง การไถเตรียมดินปลูกพืชไร่ตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ ท าแนวรั้ว
                  หญ้าแฝกขวางความลาดเทของพื้นที่ช่วยชะลอการไหลบ่าของน้ าที่ผิวดิน เมื่อฝนตกหนักขุดบ่อดักตะกอน
                  เพื่อช่วยชะลอการไหลบ่าของน้ าที่ผิวดินและยังสามารถใช้น้ าเสริมในการเพาะปลูก น ามาตรการอนุรักษ์ดิน
                  และน้ าทางพืชมาใช้ การปลูกพืชเป็นแถวขวางความลาดเทของพื้นที่ การปลูกพืชตระกูลถั่วแซมพืชหลัก
                  เป็นต้น

                                             (2)  ปัญหาดินขาดธาตุอาหารพืชบางอย่างและดินมีความชื้นไม่เพียงพอใน
                  บางช่วงใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา 1.5-2.0  ตันต่อไร่ หรือปลูกพืชปุ๋ยสดแล้วไถกลบลงดินเมื่อปุ๋ยพืชสด
                  ออกดอกได้ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ ปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับพืชไร่หลักหรือปลูกพืชตระกูลถั่วแซมกับพืช

                  หลักจะช่วยรักษาและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดิน และยังช่วยเพิ่มความสามารถในการอุ้มน้ าของดินอีก
                  ด้วย การใช้ปุ๋ย เช่น
                                                   (2.1) ถั่วเหลือง ถั่วเขียว และถั่วลิสง ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 12-24-12 หรือสูตร
                  8-22-12 อัตรา 20-30 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร 10-20-10 อัตรา 25-35 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่รองก้นร่องปลูก

                  หรือโรยสองข้างแถวปลูกแล้วพรวนดินกลบเมื่อถั่วอายุ 20-25  วันหรือใส่ปุ๋ยสูตร 11-52-0  หรือ 18-46-0
                  อัตรา10-15 กิโลกรัมต่อไร่ ส าหรับดินที่มีโพแทสเซียมสูงใส่โดยโรยข้างแถวแล้วพรวนดินกลบ
                                                   (2.2)  ข้าวโพด-ข้าวฟ่าง ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15  อัตรา 50-75
                  กิโลกรัมต่อไร่ ส าหรับชุดดินที่มีโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชต่ า ใส่โดยโรยสองข้างแถวปลูกแล้วพรวน

                  ดินกลบ ใส่หลังปลูก 20-25 วัน หรือใส่ปุ๋ยสูตร 20-20-0 อัตรา 40-50 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร 23-23-0
                  อัตรา 35-45 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร 25-25-0 อัตรา 30-40 กิโลกรัมต่อไร่ เลือกใช้สูตรใดสูตรหนึ่งส าหรับ
                  ชุดดินที่มีโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชสูงใส่โดยโรยข้างแถวปลูกแล้วพรวนดินกลบ ใส่หลังปลูก
                  20-25 วัน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31