Page 24 - ศึกษาการใช้อัตราที่เหมาะสมของน้ำหมักชีวภาพเพื่อการเพิ่มผลผลิตของยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
P. 24

15





                                                    ผลการทดลองและวิจารณ์


                    1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติดิน


                        1.1 การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ

                           1.1.1 ความหนาแน่นรวมของดิน
                           จากผลการศึกษาก่อนด าเนินการ (ปี 2552) พบว่า ดินต ารับที่ 1 ดินมีความหนาแน่นสูงที่สุด

                    เท่ากับ 1.67 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และ ต ารับที่ 3 และ 4 มีความหนาแน่นน้อยที่สุดเท่ากับ 1.46

                    กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร  และเมื่อสิ้นสุดการทดลอง (ปี 2554) พบว่าดินทุกต ารับมีความหนาแน่น
                    ลดลง และในต ารับที่ 1  ดินมีความหนาแน่นรวมของดินลดลงมากที่สุด โดยทุกต ารับมีค่าความหนาแน่น

                    อยู่ระหว่าง  1.23-1.42  กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (ภาพที่ 3)  สอดคล้องกับ สมเกียรติ (2547) พบว่า
                    น้ าหมักชีวภาพช่วยท าให้ดินโปร่ง  จุลินทรีย์จากน้ าหมักชีวภาพจะลงสู่ดิน  ท าให้มีการย่อย อินทรีย์สาร

                    ในดินได้ดีขึ้น และลดการเสื่อมสภาพของดิน เป็นปุ๋ยธรรมชาติได้ดีกว่าปุ๋ยเคมี พืชจึงได้รับสารอาหารและ

                    ออกซิเจน ได้มากขึ้น



                                   2
                                                                                               ปี2552 ก่อนด าเนินการ
                                                                                                ปี2554
                                กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร   1
                                  1.5








                                  0.5




                                   0
                                            TR1           TR2          TR3           TR4

                              ภาพที่ 3 แสดงแสดงความหนาแน่นรวมของดินปีการทดลอง พ.ศ.2552 – 2554
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29