Page 22 - ศึกษาการใช้อัตราที่เหมาะสมของน้ำหมักชีวภาพเพื่อการเพิ่มผลผลิตของยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
P. 22

13





                           2.3 ขั้นตอนการด าเนินงาน
                                  2.3.1 การคัดเลือกพื้นที่วิจัย และสถานที่เก็บข้อมูลโดยคัดเลือกพื้นที่ของหมอดินอาสา

                    ประจ าต าบล โดยคัดเลือกยางพาราพันธุ์ RRIM 600 อายุปลูกในแปลง 10 ปี ที่มีความสมบูรณ์ไม่มีโรค

                    แมลงท าลาย และเป็นพื้นที่ในกลุ่มชุดดินที่ 51 โดยใช้ขนาดพื้นที่แปลงทั้งหมด 4 ไร่
                                  2.3.2 ส ารวจข้อมูลพื้นฐานของพื้นที่ พร้อมจัดท า Site  characterization  และเก็บ

                    ตัวอย่างดินก่อนดินก่อนการทดลอง
                                  2.3.3 ด าเนินการฉีดพ่นน้ าหมักชีวภาพที่ล าต้นยางพาราตามวิธีวิจัย  โดยฉีดพ่นทุก

                    เดือนๆละ 1 ครั้ง

                                  2.3.4 ดูแลรักษาต้นยางพาราตามความจ าเป็น เช่น ใส่ปุ๋ย  ตัดหญ้า


                           2.4 การเก็บข้อมูล
                                  2.4.1 การเก็บข้อมูลผลผลิต

                                  เก็บข้อมูลผลผลิตของยางพารา โดยเริ่มกรีดช่วงเช้า  ระหว่างเวลา  04.00 – 06.00 น.

                    หลังจากนั้นเก็บน้ ายางแต่ละต าหรับการทดลอง ดังนี้
                                      1) เก็บปริมาณน้ ายางสดในแต่ละวัน   โดยน ามาชั่งหาปริมาณน้ ายางสดในแต่วัน

                    ของแต่ละต ารับ

                                      2) เก็บเปอร์เซ็นต์เนื้อยางพารา  โดยน าตัวอย่างน้ ายางพาราสดในแต่ครั้งของแต่ละ
                    ต ารับที่เก็บได้  จ านวน  ๒๐ กรัม น าไปผสมน้ ากรดฟอร์มิก  เพื่อให้ยางแข็งตัว หลังจากนั้นจึงขึ้นรูปยาง

                    เป็นแผ่นบางๆ และอบด้วยตู้อบไฟฟ้าจนกว่าเนื้อยางจะใส แล้วจึงน ามาชั่ง  เพื่อหาน้ าหนักเนื้อยางพารา

                    แห้งคงเหลือ แล้วจึงน ามาค านวณหาเปอร์เซ็นต์เนื้อยางพารา   ด าเนินการทุกๆ วันที่  25  ของเดือน
                    โดยใช้สูตรค านวณหาเปอร์เซ็นต์เนื้อยางพารา ดังนี้


                         เปอร์เซ็นต์เนื้อยางพารา   =   น้ าหนักเนื้อยางพาราแห้ง  x  ๑๐๐ / น้ าหนักน้ ายางพาราสด

                                      3) หลังจากได้เปอร์เซ็นต์เนื้อยางพาราแล้ว  น ามาค านวณหาน้ าหนักยางพาราแห้ง
                    เป็นกิโลกรัมต่อไร่ต่อเดือน  และเมื่อสิ้นสุดในแต่ละปีการทดลอง  ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลผลผลิต

                    ยางพาราทั้งปี  ค านวณน้ าหนักเนื้อยางพาราแห้ง  เป็นกิโลกรัมต่อไร่ต่อปี

                                  2.4.2 การเก็บข้อมูลดินที่ระดับความลึก  0-30  เซนติเมตร   ก่อนและหลังการวิจัยของ
                    แต่ละวิธีการโดยวิเคราะห์

                                                                                           -3
                                      1) สมบัติทางกายภาพของดิน เช่น ความหนาแน่นของดิน (g cm )
                                      2) สมบัติทางเคมีของดิน เช่น ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) เปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุ

                                                                                                -1
                                                    -1
                    (%) ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (mg kg ) และโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ (mg kg ) เป็นต้น
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27