Page 25 - ศึกษาการใช้อัตราที่เหมาะสมของน้ำหมักชีวภาพเพื่อการเพิ่มผลผลิตของยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
P. 25

16





                           1.1.2 ความชื้นในดิน
                           จากผลการศึกษา ก่อนด าเนินการ (ปี 2552) พบว่า ดินที่ต ารับที่ 3 ดินมีความชื้นในดินสูงที่สุด

                    เท่ากับ 15.96 เปอร์เซ็นต์   สูงกว่าต ารับที่  2, 4 และ 1   มีค่าความชื้นในดิน  14.65 เปอร์เซ็นต์, 14.02

                    เปอร์เซ็นต์ และ  12.45 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ และเมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่าดินทุกต ารับมีความชื่น
                    เพิ่มขึ้นโดยต ารับที่ 1 ดินมีความชื้นเพิ่มสูงขึ้นที่สุด และดินทุกต ารับมีความชื้นอยู่ระหว่าง 18.29-20.22

                    เปอร์เซ็นต์ (ภาพที่ 4)  สอดคล้องกับ สมเกียรติ (2547)  ที่พบว่าการใช้น้ าหมักชีวภาพช่วยให้ดินอุ้มน้ าไว้
                    เพื่อให้พืชใช้ประโยชน์ได้นานยิ่งขึ้น


                                25
                                                                                              ปี2552  ก่อนด าเนินการ
                                                                                               ปี2554
                                20

                              เปอร์เซ็นต์ความชื้น   15




                                10


                                 5



                                 0
                                         TR1           TR2           TR3           TR4

                                ภาพที่ 4 แสดงเปอร์เซ็นต์ความชื้นในดิน  ปีการทดลอง พ.ศ.2552 – 2554


                        1.2 การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน
                           1.2.1 ค่าปฏิกิริยาดิน

                           จากผลการศึกษา ก่อนด าเนินการ (ปี 2552) พบว่า ดินที่ทุกต ารับมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของ

                    ดินระหว่าง  4.86 - 5.20  ซึ่งมีความเป็นกรดแก่ถึงกรดจัด และเมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่าดินในทุก
                    ต ารับมีความเป็นกรดเป็นด่างของดินเพิ่มขึ้น (ภาพที่ 5)
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30