Page 38 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 38

ที่เหลือขึ้นมาแทนที่ซึ่งจะมีสีจางกวา และอีกประการหนึ่งดินในบริเวณที่ต่ํามีปริมาณความชื้นสูงทําใหพืชพรรณตางๆ

            เจริญงอกงามไดมากกวาดินที่มีความชื้นนอย  จึงทําใหมีอินทรียวัตถุมากขึ้นทําใหดินมีสีคล้ํากวา
                    29.3 การวัดและการเปรียบเทียบสีของดิน

                    การวัดสีของดินตองมีมาตรฐานในการวัดใหเหมือนกัน  โดยทั่วไปเราจะวัดดวย Munsell color charts  ซึ่ง

            ประกอบดวยแผนเทียบสีตางๆ กันซึ่งในสมุดเทียบสีประกอบดวย
                    Hue  คือ  สีจาก Spectrum เปนสีที่แทจริงโดยขึ้นอยูกับคาของคลื่นแสง (wave length) ใน Munsell color

            charts  ของดินไดแบงออกดังนี้คือ

                           10R,  2.5YR; 5YR; 7.5YR; 10YR; 2.5Y; 5Y

                    Value   คือ  ความชัดเจนของสีโดยมีอิทธิพลของสีขาวและดําผสมอยู  คาของ Value  เมื่อลดต่ําลงสีจะเขมไป
            ทางดํา และเมื่อเพิ่มคามากขึ้นสีขาวก็จะคอยๆ มากขึ้น คาของ value  เปนไปในแนวตั้ง (Vertical)

                    Chroma  คือความบริสุทธิ์ของสีโดยมีความสัมพันธอยูกับสีขาวหรือสีเทา และจะมีคาเพิ่มมากขึ้นเมื่อสีเทาได

            ลดนอยลง  คาของ Chroma  เปนไปในแนวนอน (Horizon)

                    การรายงานผลของการเทียบสีดินกับสมุดเทียบสี ตองเรียงตามลําดับดังนี้คือ
                           Hue           Value         Chroma

                           10YR              6     /        3

            แลวอานคาของอีกดานหนึ่งของสมุดเทียบสี ก็จะไดวา 10YR 6/3 คือ pale brown
                    การวัดสีตองบอกดวยวา ดินอยูในสภาพแหง (dry) หรือสภาพชื้น (moist) เพราะสีของดินจะเปลี่ยนไปเมื่อดิน

            อยูในสภาพที่มีความชื้น คาของ  value จะแตกตางกันเมื่อดินชื้น (moist) คาของ value จะเขมขึ้นประมาณ 1/2 ถึง 3 step

            และคาของ Chroma  เปลี่ยนจาก –1/2 ถึง +2 step โดยทั่วไปคาของ Hue จะไมเปลี่ยนแปลง (วิชัย  บุญยะวัฒน,  2514)
                    30)  Texture (Soil texture)  -  เนื้อดิน  :

                    เนื้อดินหมายถึงความสัมพันธของอัตราสวนของพวกอนุภาคดินเหนียว (clay)  ดินทรายแปง (silt)  และดิน

            ทราย (sand) ซึ่งมีขนาดเสนผาศูนยกลางต่ํากวา 2 มม. ลงไป
                    การแบงขนาดของเม็ดดิน นิยมใชอยู 2 ระบบ คือ

                    1. ระบบของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (United State Department of Agriculture : U.S.D.A.)

                    2. ระบบของสมาคมวิทยาศาสตรทางดินนานาชาติ (International Society of Soil Science : I.S.S.S.)

















                                                           31
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43