Page 39 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 39

30

                            วิธีการและอัตราการใชปุยหมัก  ไมไดมีการกําหนดไวเปนมาตรฐานแตขึ้นอยูกับความเหมาะ

             สมแตละพื้นที่เพาะปลูกชนิดและพืชที่ปลูก เชน

                            -  เปนนาหวานหรือพืชไร  ก็อาจจะใชวิธีการหวานใหทั่วแปลงแลวทําการไถกลบ  อัตราที่แนะ

                               นํา 2-4 ตันตอไร
                            -  เปนพืชผัก ใชวิธีการโรยเปนแถวแลวพูนดินกลบจะเปนการพรวนดินไปดวย อัตราที่แนะนํา

                               4-6 ตันตอไร

                            -  เปนไมผล  นิยมใชผสมคลุกเคลากับดินใสในหลุมหรือขุดรองโรยรอบทรงพุม  อัตราที่แนะ

                               นํา 20-50 กิโลกรัมตอตน
                            การใชปุยหมักติดตอกันอยางตอเนื่องมีประโยชนตอการปรับปรุงบํารุงดินทั้งทางตรงและทาง

             ออม  หลายประการตามที่ไดกลาวในเบื้องตนในเรื่องของอินทรียวัตถุ  แตปจจัยหลักคือการเปนแหลงของสาร

             ประกอบฮิวมัสในดิน ดังนั้นคุณภาพของปุยหมัก วิธีการใสตลอดจนสภาพแวดลอมไดแก ชนิดของดิน สภาพดิน

             ฟาอากาศ  และสภาพความชื้นในดิน  เปนปจจัยที่มีสวนกําหนดผลของปุยหมักตอการเจริญเติบโตและผลผลิต
             ของพืช  โดยทั่วไปแลวปุยหมักควรมีธาตุอาหารหลักของพืชไดแก  ไนโตรเจนประมาณ 1.0-1.5  เปอรเซ็นต

             ฟอสฟอรัส 0.44 เปอรเซ็นต และโพแทสเซียม 1.25 เปอรเซ็นต โดยน้ําหนัก แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับแหลงที่มาของวัสดุ

             ที่จะนํามาเปนปุยหมักดวย ปรัชญา (2535) ไดศึกษาผลของปุยหมักรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตขาวในดินชุด

             ราชบุรีและรอยเอ็ด พบวา การใสปุยหมักในดินชุดราชบุรีและชุดรอยเอ็ด มีผลทําใหน้ําหนักเมล็ดเพิ่มขึ้น โดยน้ํา

             หนักเมล็ดสูงสุดเมื่อใชปุยหมัก 6 ตันตอไร คือ 564.27 กิโลกรัมตอไร ในชุดดินราชบุรี และ 697.99 กิโลกรัมตอ
             ไร  ในชุดดินรอยเอ็ด  และการใสปุยหมักรวมกับปุยเคมีไมวาอัตราใดมีผลทําใหน้ําหนักของเมล็ดขาวเพิ่มขึ้น

             อยางเห็นไดชัด


                            สําหรับพืชผักอัตราการใชปุยหมักที่แนะนําคือ 4-6  ตันตอไร  ใสโดยวิธีการหวานใหทั่วแปลง

             หรือโรยเปนแถวแลวพูนดินกลบเปนการพรวนดินไปดวย สําหรับในดินเหนียวหรือดินรวนปนทรายที่มีความอุดม

             สมบูรณต่ําพบวาการใชปุยหมักประมาณ 2-4  ตันตอไร  สามารถเพิ่มผลผลิตของพืชไดชัดเจนโดยเฉพาะเมื่อใช

             รวมกับปุยเคมี ในขณะที่ปรีดี (2535) ไดศึกษาการใชปุยหมักในอัตราตางๆ รวมกับปุยเคมีบํารุงดินเพื่อปลูกขาว
             โพดเลี้ยงสัตวพันธุสุวรรณ1  พบวาปุยหมักมีผลตอการปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพของดิน คือ เพิ่มชองวาง

             ในดินและเพิ่มความจุในการอุมน้ําของดิน ลดความหนาแนนของดิน การใชปุยหมักมีแนวโนมทําใหผลผลิตขาว

             โพด เพิ่มขึ้น และเมื่อใชปุยหมักอัตรา 6 ตันตอไร รวมกับปุยเคมี 6-6-3 กิโลกรัมตอไร ไดน้ําหนักเฉลี่ยที่ความชื้น

             15 เปอรเซ็นตสูงสุดคือ 468.81 กิโลกรัมตอไร เปนตน เชนเดียวกับวรรณลดาและคณะ (2534) ไดรายงานผล

             ของปุยหมักตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวโพดหวานและขาวโพดฝกออนในดินชุดมาบบอนซึ่งเปนดิน
             รวนปนทรายพบวา การใสปุยหมักในอัตราที่เพิ่มขึ้นจาก 0, 2, 4 และ 6 ตันตอไร มีผลทําใหผลผลิตของขาวโพด

             เพิ่มขึ้น  นอกจากนี้การใชปุยหมักเปนวัสดุปรับปรุงดินสามารถทําใหผลผลิตของแคนตาลูปเพิ่มขึ้นมากกวาการ

             ใชแกลบ  กากชานออยและขี้เถาแกลบและการเพิ่มขึ้นของผลผลิตขึ้นอยูกับอัตราการเพิ่มของวัสดุปรับปรุงดิน

             ดวย (www.fao.org/ag/agl)
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44