Page 40 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 40

31

                            สําหรับไมผล  อัตราการใชปุยหมักหรือปุยคอกที่แนะนําคือ 20-50  กิโลกรัมตอตน  ใสตอน

             เตรียมหลุมโดยคลุกเคลากับดินแลวใสลงดานลางของหลุม  หรือใสปุยหมักตอนที่พืชเจริญเติบโตแลว  โดยขุด

             รองรอบทรงพุม  แลวใสปุยหมักหรือปุยคอกรอบแนวและทําการกลบดิน  ซึ่งปุยหมักจะชวยทําใหคุณสมบัติของ
             ดินทั้งทางดานเคมีและกายภาพของดินเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชและเพิ่มผลผลิตพืช และยังเปนการ

             ลดการใชปุยเคมีเปนการประหยัดตนทุนในอีกทางหนึ่ง  นอกจากนี้ปุยหมักเปนแหลงปุยไนโตรเจนธรรมชาติที่

             สําคัญ  และไนโตรเจนในรูปอินทรียสารจะถูกปลอยออกมาในรูปที่พืชนําไปใชได  โดยขบวนการยอยสลายของ

                                                                      -
                                                  +
             จุลินทรียในดินในรูปของแอมโมเนียม (NH -N) และไนเตรท (NO -N) และยังชวยเพิ่มคา CEC ในดินใหมาก
                                                                      3
                                                 4
             ขึ้น  และยังชวยลดความหนาแนนรวมของดินใหนอยลง  อัตราที่ปุยหมักที่ใชกับไมผลประมาณ 20-50  กิโลกรัม
             ตอตน ทั้งนี้แลวแตชนิดและขนาดของหลุมกับพืชที่ปลูก (ปรีดี, 2535) ในขณะที่ประสิทธิ์ และคณะ (2545) ได
             ศึกษาการใชวัสดุปรับปรุงดินเพื่อปลูกมะขามเทศบนดินเค็มชายทะเล  ผลการศึกษาพบวาการใชวัสดุปรับปรุง

             ดินคือปุยหมักและปุยคอกรวมกับยิปซั่ม  แตละตํารับการทดลองไมมีความแตกตางกันทางสถิติ  เมื่อมีการใส

             อยางตอเนื่องจะชวยทําใหดินมีความเค็มลดลงตามลําดับ ทั้งยังชวยเพิ่มปริมาณธาตุอาหารที่เปนประโยชนมาก
             ขึ้น รวมทั้งอินทรียวัตถุในดิน จะเห็นวาการใชปุยหมักอัตรา 30 กิโลกรัมตอตนตอป รวมกับยิปซั่ม 1 กิโลกรัมตอ

             ตนตอป  จะพบปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินมากกวาตํารับการทดลองอื่นๆ  คือมีคาแตละปเทากับ

             503  511 และ 442 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ (ตารางที่ 3.5)
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45