Page 38 - เอกสารวิชาการ การใช้อินทรียวัตถุปรับปรุงดินเค็มชายทะเล : เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพัฒนาเพื่อป้องกันการเป็นทะเลทรายและการเตือนภัย เลขที่ 30/02/48
P. 38

29

                            3.1.3  ปุยหมัก (compost)  ปุยหมักเปนปุยอินทรียชนิดหนึ่ง  ซึ่งไดจากการนําชิ้นสวนของพืชมา

             หมักในรูปของการกองซอนกันบนพื้นที่ดินหรือในหลุมเศษชิ้นสวนของพืชที่นํามาหมักนั้นจะตองผานกระบวนการ

             ยอยสลายจนแปรสภาพไปจากรูปเดิมโดยกิจกรรมของจุลินทรียจนกระทั่งไดสารอินทรียวัตถุที่มีความคงทนไมมีกลิ่น
             มีสีน้ําตาลปนดําและมีอัตราสวนของสารประกอบคารบอนตอไนโตรเจนต่ํา  เมื่อกระบวนการยอยสลายเศษพืชและ

             วัสดุเสร็จสมบูรณจะไดปุยหมัก สําหรับใชประโยชนในปรับปรุงและบํารุงดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, ไมระบุปที่พิมพ)






































                            สําหรับคุณภาพและมาตรฐานที่ดีของปุยหมักที่ทําจากวัสดุเหลือใชตางๆ  จะมีคุณสมบัติบาง

             ประการแตกตางกัน ดังนั้น กลุมปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุและวัสดุเหลือใช กรมพัฒนาที่ดิน จึงไดกําหนดคุณ

             ภาพและมาตรฐานเพื่อเปนแนวทางที่ยึดหลักเกณฑของปุยหมักที่ดีและเมื่อใสลงดินแลวไมทําใหพืชเปน
             อันตราย ดังนี้

                            -  อัตราสวนสารประกอบคารบอนตอไนโตรเจน (C/N ratio) ไมมากวา 20 เปอรเซ็นต

                            -  เกรดปุยไมควรต่ํากวา 0.5-0.5-1.0 (เปอรเซ็นตของ N-P O -K O)
                                                                              2 5
                                                                                    2
                            -  ความชื้นของปุยหมักไมควรมากกวา 35-40 เปอรเซ็นตโดยน้ําหนัก
                            -  ปริมาณอินทรียวัตถุประมาณ 25-30 เปอรเซ็นต โดยน้ําหนัก

                            -  ความเปนกรดเปนดาง (pH) ประมาณ 6.0-7.5

                            -  ไมควรมีวัสดุอื่นๆ เจือปน


                            ประโยชนของปุยหมักก็เปนไปในทํานองเดียวกันกับปุยพืชสด  และปุยคอก  คือทําใหโครงสราง

             ของดินดีขึ้น การจับตัวของเม็ดดินดีขึ้น ทําใหดินรวนซุย มีความสามารถในการอุมน้ําไดดีเพราะที่สําคัญเปนการ

             เพิ่มปริมาณธาตุอาหารใหแกพืชและการยอยสลายถึงที่สุดก็จะกลายเปนอินทรียวัตถุในดินตอไป
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43