Page 49 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 49

39   ชุดดินภูสะนา (Phu Sana series: Ps)





                                  กลุมชุดดินที่   46
                                  การจําแนกดิน     Loamy-skeletal, mixed, isohyperthermic Kanhaplic Haplustults

                                  การกําเนิด       เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินแกรนิตและหินแกรโนไดโอไลทเนื้อหยาบ
                                                   บริเวณภูเขา      และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปน

                                                   ระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขา

                                  สภาพพื้นที่      ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 3-8 %
                                  การระบายน้ํา                   ดี

                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชาถึงปานกลาง
                                  การซึมผานไดของน้ํา           ปานกลาง

                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน       ปาเต็งรัง  พืชไร เชน ขาวโพด ขาวไร

                                                   ปอแกว
                                  การแพรกระจาย           พบมากบริเวณภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศ

                                  การจัดเรียงชั้นดิน      Ap(A)-Bt
                                  ลักษณะและสมบัติดิน      เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นกรวดเหลี่ยมของแรควอตซหนาแนนมาก

                                  ภายในความลึก 50 ซม. จากผิวดิน  ปริมาณและขนาดของควอตซเหลี่ยมจะเพิ่มมากขึ้นตามความ
               ลึก  ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน  สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขมมาก  ปฏิกิริยาดินเปนกรด

               เล็กนอยถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายปนกรวดเหลี่ยมมาก สีน้ําตาลแกหรือสีแดงปนเหลือง

               ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 5.0-5.5) ชั้นหินที่กําลังผุพังสลายตัวมีสีแดง สีขาว และสีเหลืองปะปนกัน

                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25          ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                  25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินโปงตอง  และชุดดินมาบบอน
               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินมีกรวดเหลี่ยมปะปนอยูหนาแนนมาก รากพืชชอนไชไดยาก ความอุดมสมบูรณ

               ต่ํา  พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงาย
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี

               ควรไถพรวนใหลึกและปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ  การปลูกไมผลควรเตรียมหลุมดินใหลึกและกวาง  เพื่อใหรากพืชไชชอน

               ไดงายขึ้น จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืชหรือวิธีกล หรือทั้งสองวิธีรวมกัน






                                                                                                              41
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54