Page 51 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 51

41   ชุดดินสมอทอด (Samo Thod series: Sat)





                                 กลุมชุดดินที่    28
                                 การจําแนกดิน      Very-fine, smectitic, isohyperthermic Chromic Haplusterts

                                 การกําเนิด        เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินบะซอลท  หินแอนดีไซท  และหินปูน  และ/
                                                   หรือที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนม

                                                   ถวง บริเวณลาวาหลากและเชิงเขา

                                 สภาพพื้นที่       ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 3-10 %
                                 การระบายน้ํา                   ดีปานกลาง

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชาถึงปานกลาง
                                 การซึมผานไดของน้ํา           ปานกลาง

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน        ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด

                                                   ขาวฟาง ถั่ว ทานตะวัน หรือไมผล เชน นอยหนา ขนุน มะมวง มะขาม
                                 การแพรกระจาย         พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศ

                                 การจัดเรียงชั้นดิน    Ap(A)-Bw-Bss-Cr
                                 ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว  ดินเหนียวปนทรายแปง

               หรือดินเหนียว สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0) ดินลางตอนบน
               เปนดินเหนียว สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาล มีจุดประสีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH

               5.0-5.5)  ดินลางตอนลางเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีน้ําตาล สีแดง และสีเทา  พบรอย

               ถูไถเปนมัน ปฏิกิริยาดินเปนดางปานกลาง (pH 8.0)  มักพบกอนปูนทุติยภูมิปะปนกับเศษหินผุในชั้นลึกๆ

                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25          ต่ํา          สูง          ปานกลาง          ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                  25-50         ต่ํา          สูง          ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง

                 50-100         ต่ํา          สูง          ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินลํานารายณ
               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินเหนียวจัดและแนนทึบ  ไถพรวนลําบาก และเมื่อดินแหง ดินจะแตกระแหงอาจทํา
               ใหรากพืชเสียหายได

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปรับปรุงดินใหรวนซุยโดยใชอินทรียวัตถุ  และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่ม

               ผลผลิต









                                                                                                              43
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56