Page 45 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 45
35 ชุดดินเพชรบูรณ (Petchabun series: Pe)
กลุมชุดดินที่ 56
การจําแนกดิน Fine-loamy (Loamy over skeletal), mixed, semiactive,
isohyperthermic Ultic Paleustalfs
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาทับถมบนหินตะกอนพวกหินทราย หินดินดาน หรือหิน
ทรายแปง บริเวณเนินตะกอนรูปพัด
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-12 %
การระบายน้ํา ดีปานกลาง
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลาง
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง ขาวโพด มะมวง มะขาม
การแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศ
การจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-Btc-(Cr)
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกปานกลางถึงชั้นลูกรังและเศษหินหนาแนน ดินบนเปนดิน
รวนปนทรายหรือดินรวน สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึง
เปนกรดปานกลาง (pH 5.5-7.0) ดินลางตอนบนเปนดินรวนเหนียวปนทรายถึงดินรวนปนดินเหนียว
หรือดินเหนียวปนทราย สีแดงปนเหลือง มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองเล็กนอย ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH
4.5-5.5) ดินลางตอนลางเปนดินรวนปนดินเหนียวปนลูกรังและเศษหินมาก สีน้ําตาลปนเหลือง มีจุดประสีแดงปนเหลือง
ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH6.5-8.0) ใตชั้นลูกรังเปนชั้นหินที่กําลังผุพังสลายตัว สีน้ําตาล เหลือง
และแดงปะปนกัน
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินวาริน ชุดดินน้ําดุก และชุดดินโพนงาม
ขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา สภาพพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินถูกชะลางพังทลายไดงาย
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ํา และจัดระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม ปรับปรุง
บํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุและใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น
37