Page 50 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 50

40  ชุดดินสันทราย (San Sai series: Sai)





                                 กลุมชุดดินที่    22
                                 การจําแนกดิน      Coarse-loamy, siliceous, subactive, isohyperthermic Aeric

                                                   Endoaqualfs
                                 การกําเนิด        เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณตะพักลําน้ํา และที่ราบระหวางเขา

                                 สภาพพื้นที่       ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %

                                 การระบายน้ํา                    คอนขางเลว
                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน        ชา

                                 การซึมผานไดของน้ํา            ชา
                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน        นาขาว อาจใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพด

                                                   ถั่ว หรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาว

                                 การแพรกระจาย            พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบน
                                 การจัดเรียงชั้นดิน       Apg-Btg

                                 ลักษณะและสมบัติดิน       เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทราย หรือดินทรายปนดินรวน สี
                                 น้ําตาลปนเทาหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปน

                                 กรดจัดมากถึงเปนกลาง (pH 5.0-7.0) ดินลางเปนดินรวนปนทรายถึงดินรวนเหนียวปนทราย สีเทา สี
               เทาออนหรือสีเทาปนชมพู มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง

               (pH 6.0-8.0) อาจพบศิลาแลงออนสีแดงบางเล็กนอย


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25          ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                  25-50         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100         ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินลําปาง

               ขอจํากัดการใชประโยชน       ความอุดมสมบูรณต่ํา และใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบรากพืชชอนไชไดยาก
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ไถพรวนใหลึกและปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ  ปรับปรุงบํารุงดินและเพิ่มผลผลิตพืช

               ใหสูงขึ้นโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี  ในพื้นที่ชลประทาน  นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผักซึ่งจะตองยกรองและ
               ปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ












                                                                                                              42
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55