Page 52 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 52

42   ชุดดินไทรงาม (Sai Ngam series: Sg)





                                 กลุมชุดดินที่    38
                                 การจําแนกดิน      Coarse-loamy, mixed, semiactive, isohyperthermic Oxyaquic (Ultic)

                                                   Haplustalfs
                                 การกําเนิด        เกิดจากตะกอนน้ําพา บริเวณสันดินริมน้ํา

                                 สภาพพื้นที่       คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-3 %

                                 การระบายน้ํา                    ดี
                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน        ชา

                                 การซึมผานไดของน้ํา            เร็ว
                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน        ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ออย

                                                   ยาสูบ ถั่วตางๆ พืชผัก และไมผล

                                 การแพรกระจาย            พบมากบริเวณภาคเหนือ
                                 การจัดเรียงชั้นดิน       Ap(A)-Bt

                                 ลักษณะและสมบัติดิน       เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทรายสีน้ําตาลปน
                                 เทาเขมถึงสีน้ําตาลเขม  ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-6.5)  ดินลางเปนดิน

                                 รวนปนทรายหรือดินรวนปนทรายแปง สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดแกถึง
               เปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)  ดินลางลึกๆ อาจพบชั้นทราย และดินนี้มีเกล็ดไมกาตลอดชั้นดิน


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง          สูง            สูง         ปานกลาง
                  25-50         ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง       ปานกลาง           สูง         ปานกลาง
                 50-100         ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง       ปานกลาง           สูง         ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินกําแพงแสน  และชุดดินกําแพงเพชร

               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินคอนขางเปนทราย มีอินทรียวัตถุต่ํา

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และควรใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี
               เพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น

















                                                                                                              44
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57