Page 53 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 53

43  ชุดดินสบปราบ (Sop Prap series: So)





                                    กลุมชุดดินที่  47
                                    การจําแนกดิน  Fine, smectitic, isohyperthermic Lithic Haplustolls

                                    การกําเนิด     เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินบะซอลทและแอนดีไซท  บริเวณลาวาหลาก
                                                   และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ  โดย

                                                   แรงโนมถวง

                                    สภาพพื้นที่    ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-12 %
                                    การระบายน้ํา                ดี

                                    การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    ชาถึงเร็ว
                                    การซึมผานไดของน้ํา        ปานกลาง

                                    พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน     ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ออย

                                                   มันสําปะหลัง และไมผล
                                    การแพรกระจาย         พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศ

                                    การจัดเรียงชั้นดิน    Ap(A)-Bw-R
                                    ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นหินพื้นภายใน 50 ซม.  จากผิวดิน ดินบน

                                    เปนดินรวนปนดินเหนียวถึงดินเหนียว สีน้ําตาลปนเทาเขมมากหรือสีน้ําตาลเขมมาก ปฏิกิริยาดิน
               เปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0)  ดินลางเปนดินเหนียว  สีน้ําตาลปนเทาเขมมากหรือสีน้ําตาลเขม  ปฏิกิริยาดิน

               เปนกรดปานกลางถึงเปนดางเล็กนอย (pH 6.0-7.5)


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25       ปานกลาง          สูง            สูง            สูง            สูง            สูง

                  25-50         ต่ํา          สูง          ปานกลาง          สูง         ปานกลาง        ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ไมมี
               ขอจํากัดการใชประโยชน       ดินตื้น

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนักและดินไมตื้นมาก  อาจใชปลูกพืชไรได  แตตอง
               รบกวนดินนอยที่สุด  พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดย  ใชวิธีพืช   พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใช
               เพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา















                                                                                                              45
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58