Page 54 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 54

44  ชุดดินสันปาตอง (San Pa Tong series: Sp)





                                  กลุมชุดดินที่   40
                                  การจําแนกดิน     Coarse-loamy, siliceous, semiactive, isohyperthermic Typic (Kandic)

                                                   Paleustults
                                  การกําเนิด       เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัด และตะพักลําน้ํา

                                  สภาพพื้นที่      ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน 2-20 %

                                  การระบายน้ํา                   ดีปานกลาง
                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชาถึงปานกลาง

                                  การซึมผานไดของน้ํา           ปานกลางถึงเร็ว
                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน       ปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง พืชไร เชน

                                                   มันสําปะหลัง ออย ถั่วลิสง ไมผล เชน มะมวง ลําไย

                                  การแพรกระจาย           พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบน
                                  การจัดเรียงชั้นดิน      Ap(A)-Bt

                                 ลักษณะและสมบัติดิน       เปนดินลึกมาก  ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน  สี
                                 น้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลาง

                                 เปนดินรวนปนทรายถึงดินรวนเหนียวปนทรายในสวนลึกๆ  สีน้ําตาลซีดหรือสีน้ําตาลปนเหลืองออน
               ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25       ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                  25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินโคราช

               ขอจํากัดการใชประโยชน       ความอุดมสมบูรณต่ํา ดินที่ใชปลูกพืชไรมานานใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบ รากชอนไช

               ไดยาก
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  ทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนโดยไถใหลึกกวาปกติ  และใชอินทรียวัตถุในการปรับ

               สภาพดินใหรวนซุย ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอ โดยเพิ่มอินทรียวัตถุและใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น














                                                                                                              46
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59