Page 44 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 44

34  ชุดดินพะเยา (Phayao  series: Pao)





                                 กลุมชุดดินที่      48 หรือ 56
                                 การจําแนกดิน        Fine-loamy    over    clayey-skeletal,  mixed,   semiactive,

                                                     isohyperthermic Plinthic Paleustalfs
                                 การกําเนิด          เกิดจากตะกอนน้ําพา  และ/หรือโดยแรงโนมถวงมาทับถมอยูบนหินตะกอน

                                                     พวกหินดินดาน  หินทรายแปง  หินทราย  และหินกรวดมน  บริเวณเนิน
                                                     ตะกอนรูปพัดและเชิงเขา

                                 สภาพพื้นที่         ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา  ความลาดชัน 3-35 %

                                 การระบายน้ํา                    ดีตอนบนและเลวในตอนลาง
                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน        ชาถึงเร็ว

                                 การซึมผานไดของน้ํา            ปานกลางตอนบนและชาในตอนลาง

                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง พืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว และใชเปนวัสดุ
                                                   ทําถนน

                                 การแพรกระจาย            พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบน
                                 การจัดเรียงชั้นดิน       Ap(A)-Bt-Btc-2Bgv

                                 ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินตื้นถึงลึกปานกลางถึงชั้นลูกรังหนาแนนตั้งแตประมาณ 30-60 ซม.
               จากผิวดิน ดินบนเปนดินรวนปนทราย สีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) ดินลางตอนบนเปน

               ดินรวนเหนียวปนทราย  สีแดงปนเหลือง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)  ใตชั้นนี้จะเปนชั้นดินรวน

               เหนียวปนทรายหรือดินรวนปนดินเหนียว และมีลูกรังหรือเศษหินที่ถูกเคลือบดวยสารประกอบออกไซดของเหล็กที่เรียกวาลูกรัง
               เทียม (pseudo-laterite) หนาแนนมากปะปนในดินหนาประมาณ 50-100 ซม. ใตชั้นลูกรังเปนชั้นดินเหนียวสีเทาที่มีจุดประสี

               แดง สีน้ําตาลและเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)

                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25          ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา

                  25-50         ต่ํา        ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100         ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน         ชุดดินโพนพิสัย
               ขอจํากัดการใชประโยชน       เปนดินตื้นถึงลึกปานกลางถึงชั้นลูกรังหนาแนน  ความอุดมสมบูรณต่ํา   พื้นที่ที่มี

               ความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงาย
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน  บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนัก (ไมเกิน 12%) และดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไรได

               แตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ํา  ที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและ
               เพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา



                                                                                                              36
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49