Page 15 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 15

5    ชุดดินชัยบาดาล (Chai Badan  series: Cd)





                                  กลุมชุดดินที่   28
                                  การจําแนกดิน     Fine, smectitic, isohyperthermic Leptic Haplusterts

                                  การกําเนิด       เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินบะซอลท  หินแอนดีไซท  บริเวณพื้นที่ภูเขา
                                                   รวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ  โดยแรง

                                                   โนมถวงบริเวณเชิงเขา หรือเกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัด
                                  สภาพพื้นที่      ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน 3-16 %

                                  การระบายน้ํา                   ดีปานกลาง

                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชาถึงปานกลาง
                                  การซึมผานไดของน้ํา           ชาถึงปานกลาง

                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน  ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ขาวฟาง

                                                   ถั่ว ทานตะวัน หรือไมผล เชน นอยหนา ขนุน มะมวง
                                  การแพรกระจาย           พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศ

                                  การจัดเรียงชั้นดิน      Ap(A)-Bss-Cr or Ck
                                  ลักษณะและสมบัติดิน      เปนดินลึกปานกลาง พบชั้นหินผุที่ระดับความลึก 50-100 ซม. ดิน

                                  บนเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง  สีเทาเขมมากหรือสีน้ําตาลปนเทาเขมมาก  ปฏิกิริยา
               ดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.5-8.0) ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลปนเทา

               เขม สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.5-8.0) ดินชั้นลางจะพบรอยไถล

               เปนมัน  เมื่อดินเปยกและแหงสลับกัน  ดินลางบางบริเวณอาจพบเม็ดปูนสะสม  โดยปกติเมื่อดินแหง  หนาดินจะแตกระแหง
               เปนรองลึก


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25       ปานกลาง          สูง            สูง            ต่ํา           สูง         ปานกลาง
                  25-50         ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                 50-100         ต่ํา          สูง            สูง            ต่ํา           สูง         ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน           ชุดดินบุรีรัมย

               ขอจํากัดการใชประโยชน         เนื้อดินเหนียวจัด  ยากตอการไถพรวน  และแตกระแหง  ทําใหรากพืชเสียหาย  เปน
               ดินลึกปานกลางและมีชั้นปูนทุติยภูมิในดินลาง  ซึ่งจะมีผลกระทบทางกายภาพและเคมีสําหรับพืชที่มีระบบรากลึก ดินอาจ

               ขาดสมดุลของธาตุอาหารโดยเฉพาะการขาดฟอสฟอรัสและจุลธาตุบางชนิด

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน      ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ   และไถพรวนขณะ
               ที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ   จัดหาแหลงน้ําสํารองไวใชเมื่อฝนทิ้งชวง  เพื่อปองกันไมใหดินแตกระแหงและทําลายระบบราก

               ของพืช ถามีพื้นที่พอ ใชปุยฟอสฟอรัสในรูปละลายชา  และเพิ่มจุลธาตุ เมื่อพืชแสดงอาการขาด


                                                                                                               7
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20