Page 12 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย
P. 12

2   ชุดดินบานจอง (Ban Chong series: Bg)





                                  กลุมชุดดินที่   29
                                  การจําแนกดิน     Fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic (Kandic) Paleustults

                                  การกําเนิด       เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ เชน หินดินดาน
                                                   หินทรายแปง  หินโคลน  หินชนวน  หินฟลไลท  เปนตน  บริเวณพื้นที่ภูเขา  และ

                                                   รวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนม
                                                   ถวง บริเวณเชิงเขา หรือเกิดจากตะกอนดินที่ถูกน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัด

                                  สภาพพื้นที่      ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %

                                  การระบายน้ํา                   ดี
                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน       ชาถึงเร็ว

                                  การซึมผานไดของน้ํา           ปานกลาง

                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน       ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ออย
                                                   ยาสูบ ขาวไร สับปะรด และสวนผลไม เชน มะมวง ลิ้นจี่ ลําไย

                                  การแพรกระจาย           พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศ
                                  การจัดเรียงชั้นดิน      Ap(A)-Bt

                                  ลักษณะและสมบัติดิน  เปนดินลึกมาก   ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว   สีน้ําตาลเขมถึงสี
                                   น้ําตาลปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)  ดินลางเปนดินเหนียว สีแดงปน

               เหลือง ถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)


                 ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                    แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25       ปานกลาง        ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           สูง         ปานกลาง

                  25-50         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100         ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน           ชุดดินเชียงแสน  ชุดดินเลย  และชุดดินเชียงของ

               ขอจํากัดการใชประโยชน         ดินมีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ําและเปนกรด   สภาพพื้นที่มีความลาดชัน  ดิน
               เกิดการชะลางพังทลายไดงาย

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชน      ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ ปุยอินทรีย หรือปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมี และ
               ใชวัสดุปูนปรับแกความเปนกรดของดิน จัดระบบอนุรักษดินและน้ําใหเหมาะสม










                                                                                                               4
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17